เค้าโครงของพระพุทธศาสนา� โดย ท่านพุทธทาส ภิกขุ

เค้าโครงของพระพุทธศาสนา� โดย ท่านพุทธทาส ภิกขุ

หน้าที่ 1 – บัญญัติเฉพาะ
อาจจะศึกษาได้เองค้นคว้าได้เองจากหนังสือต่างๆเรื่องเค้าโครงนั้นสำคัญมากมันเหมือนกับการทำบ้านเรือนไม่ว่าเราจะมีไม้มากพอแต่ถ้าเราไม่มีความรู้ที่จะเอามาชนทำให้เป็นบ้านเป็นเรือนได้ก็ไม่สำเร็จประโยชน์การที่ท่านทั้งหลายตั้งใจมาจะหาความรู้ทางพุทธศาสนาในวันนี้เห็นว่าเราควรจะพูดกันถึงเรื่องเค้าโครงพระพุทธเจ้าท่านทรงได้ตรัสว่าแต่ก่อนจะดี

เดี๋ยวนี้ก็ดีบัญญัติเฉพาะเรื่องทุกข์กับความดับทุกข์เท่านั้นคำว่าบัญญัติในที่นี้หมายถึงเรื่องที่ทรงเอามาพูดมากล่าวมาทำให้มันเป็นเรื่องหรือเปิดเผยให้เป็นที่เข้าใจแก่คนทั่วไปก็หมายความว่าเอามาสอนนั้นเองท่านทรงยืนยันว่าอาจจะพูดกันแต่เรื่องทุกข์กับความดับทุกข์เราจงถือเป็นหลักว่าถ้าเรื่องอื่นๆนอกจากนี้ยังไม่ต้องพูดก็ได้จะต้องจำเรื่องความทุกข์กับความดับทุกข์ให้ได้นี้อะไรเป็นเบื้องต้นของเรื่องความทุกข์จะต้องเข้าใจกันซะก่อนแล้วจึงทำในทางที่ตรงกันข้ามมันก็จะดับทุกข์ถ้าจะถามกันว่าเราจะตั้งต้นเรียนเรื่องความทุกข์รวมถึงเรื่องถึงความดับทุกข์ด้วยนี่กันที่ไหนท่านทั้งหลายจงรู้ไว้มีความเข้าใจหรือเห็นอย่างแจ่มแจ้งว่าเราจะต้องตั้งต้นกันที่เรื่องตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ถืออย่างนี้ถือว่าเป็น ก ข ค กา ของพระพุทธศาสนาที่เร่าจะเรียนก่อนสิ่งใดๆหรือเราจะเรียนภาษาอังกฤษเราก็ต้องคิดให้ดีๆเรียนภาษาไทยเริ่มต้นด้วย ก ข ค กา

�ถ้าเรียนพระพุทธศาสนาทำนองนั้นก็ตั้งต้นที่ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ แล้วก็ไม่ได้ยินจากหนังสือเรียนที่หนังสือต้องเรียนที่ตัวจริงของมันตัวจริงของมันก็อยู่ที่คนทุกคน คนทุกคนมีตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ นั้นก็พอที่จะรู้ได้เองว่ามันทำหน้าที่อะไรถ้าใครไม่รู้ได้ในข้อนี้ก็จะดูวิปริตมากตามปกติทุกคนจะรู้ได้ว่าตาสำหรับเห็นรู้ทำหน้าที่การเห็นภาพเห็นรูป หูทำหน้าที่ได้ยินเสียง จมูกทำหน้าที่รู้สึกกลิ่น ลิ้นสำหรับรู้สึกรส กายคือผิวกายทั่วไปสำหรับรู้สึกกับสิ่งที่จะมากระทบกายที่มากระทบผิวหนัง ใจมีหน้าที่รู้สึกเรื่องที่จะเกิดที่จะเกิดขึ้นมาในทางใจจนความคิดความรู้สึกเราก็จะมองให้เห็นละเอียดลงไปว่าเมื่อตาเห็นรู้มันก็เกิดผลขึ้นมาว่าเห็นรูปที่ถูกใจหรือไม่ถูกใจ หูได้ยินเสียงก็ได้ยินเสียงที่ถูกใจหรือไม่ถูกใจ จมูกที่ได้กลิ่นก็เหมือนกันนี้รู้ได้เองถึง 6 ที่รู้เรื่องทั้ง 6 นี้ว่าตาเป็นสิ่งสำคัญที่สุด

สำหรับมนุษย์ถ้ามนุษย์ไม่มีตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ มันจะเป็นอย่างไรบ้างก็ลองคิดดูเองมันก็เท่ากับไม่มีเรื่องอะไรหรือไม่มีอะไรทั้งหมดเลยก็ได้คือไม่มีโลกทั้งโลกเลยก็ได้เพราะถ้าเราไม่มีตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ทั้งหมดสิ่งเหล่านี้แล้วมันก็เหมือนกับไม่มีลองคำนวณดูบ้างจะเห็นชัดลงไปว่าอะไรอะไรมันมีสำหรับเราทึ้ง 6 ทางนี้ก็เพราะมันมีตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ นี้เองจึงเรียนตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ นี้ว่าอินทรีย์เพราะว่าอินทรีย์นั้นมันแปลว่าสิ่งที่สำคัญเรามีสิ่งสำคัญ 6 อย่าง นั้นคือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ถ้าไม่มีสิ่งทั้ง 6 นี้และอะไรมันก็ไม่มีไปหมดแหละเรื่องมันจะเกิดก็เพราะสิ่ง 6 อย่างนี้เรื่องไม่เกิดก็เพราะควบคุมสิ่ง 6 อย่างนี้ไว้ได้จึงจัดสิ่งทั้ง 6 ว่าเป็นสิ่งสำคัญจึงเรียกว่าอินทรีย์ 6 ในฐานะเป็นเรื่องสำคัญมีทางหนึ่งที่เรียกทั้ง 6 สิ่งนี้ว่า อายันตะนะภายในคือสิ่งสำหรับทำหน้าที่สืบต่อหรือกระทบสิ่งที่อยู่ในภายใน ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ

�มันหมายความว่ามันอยู่ในตัวเราอยู่ในภายตัวเราแล้วมันก็คู่กับสิ่งภายนอกซึ่งก็เรียก อายันตะนะภายนอกมี 6 ก็คือรูป เสียง กลิ่น รส บทตะพะธรรมรมย์ รูปสำหรับตาเห็น เสียงสำหรับหูได้ยิน กลิ่นสำหรับจมูกรู้สึก รสสำหรับลิ้นรู้สึก ที่สำหรับผิวหนังที่จะรู้สึกได้นั้นเขาเรียกแปลกไปหน่อยไม่ค่อยคุ้นหูกันในภาษาไทย โคกตะพะจำไว้ด้วยอย่าให้อ่านได้ว่าโคกตะพะส่วนที่จะรู้สึกได้เรียกธรรมมารมย์มันแปลกอยู่ 2 คำ รูป เสียง กลิ่น รส นี้เราก็เรียนกันไปแล้วภาษาไทยธรรมดา บทตะพะ ธรรมรมย์นี้เอาคำบาลีมาใช้นี้สิ่งที่อยู่ข้างนอกหรืออายันตะนะ

ภายนอกจะมากระทบกับสิ่งที่อยู่ภายในที่เรียกว่า อายันตะนะภายใน คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ที่จะเป็นสิ่งภายเรียกอายันตะนะภายนอกนั้นจะเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าอารมณ์ อารมณ์วรรณะอารมณ์ในภาษาไทยเราอารมณ์ที่ใช้หมายถึงความรู้สึกในใจอารมณ์ดี อารมณ์เสีย นั้นก็คำหนึ่งของภาษาไทยไม่เอามาปนกับอารมณ์ 6 นี้ รูป เสียง กลิ่น รส บทตะพะ ธรรมรมย์ นี่ก็เรียกว่าอารมณ์ 6แปลว่าเป็นที่หน่วงเอาคำว่าอารมณ์นั้นแปลว่าเป็นที่หน่วงเอารูกรมย์นั้นเป็นรูปหน่วงเอาแห่งตา สัตรมย์เสียงสัตรมย์เป็นเสียงหน่วงเอาแห่งหู กลิ่นเป็นสิ่งหน่วงเอาแห่งจมูกแล้วก็เป็นที่หน่วงเอาแห่งลิ้น หดสัมผัสผิวหนังหดอารมณ์เป็นที่หน่วงเอาแห่งกาย แห่งผิวกาย

�แล้วธรรมรมย์เอารู้สึกภายในนะเป็นที่หน่วงเอาแห่งใจ มีอยู่ 6 คู่ ข้างในกับข้างนอกเป็นคู่กันและข้างใน 6 คู่ มีตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ เรียกว่าอินทรีย์ก็ได้เรียกว่าอายันตะนะภายใน 6 ก็ได้ ข้างนอกมีอยู่ 6 ก็คือ รูป เสียง กลิ่น รส บทตะพะ ธรรมรมย์นี้เรียกว่ารมย์ 6 ก็ได้เรียกว่าอายันตะนะภายนอก 6 ก็ได้เราสิ่งอย่างนี้ใน 12 สิ่ง ข้างใน 6 ข้างนอก 6 ก็ต้องรู้จักมันอย่าง

เพียงแต่จำชื่อได้จดไว้ในกระดาษและก็ต้องรู้จักมันจริงๆ ซึ่งเราก็ใช่มันอยู่ตลอดเวลาแล้วทีนี้เรื่องก็จะเดินต่อไปซึ่งจะเรียน ก ข ค กา ก็ต้องมีการแจกรูปกันไปเรื่อยๆ จนกว่ามันจะผันเสียงต่างๆที่เราจะต้องรู้ต่อไปก็คือว่า อายันตะนะภายในกับอายันตะนะภายนอกมันถึงกันเข้าแล้วก็จะเกิดสิ่งที่เรียกว่าวิญญาณคู่แรกคือ ตา มาถึงกันเข้ากับรู้ ก็เกิดจักรสุวิญญาณคือวิญญาณทางตา หูถึงกันเอากับเสียงก็เกิดวิญญาณทางหูเรียกว่าโสตวิญญาณ จมูกถึงเข้ากับกลิ่นจะเกิดวิญญาณทางจมูกเรียกว่าพานวิญญาณ ลิ้นถึงกันเข้ากับรสก็เกิดวิญญาณทางลิ้นเรียกว่าชิวหาวิญญาณ กายสัมผัสเข้ากับสิ่งที่ถูกกายก็เกิดวิญญาณทางกายทางผิวหนังเรียกว่า กายวิญญาณความรู้สึกในใจมันถูกกับใจหรือใจถูกเข้ากับอารมณ์ของใจก็เรียกว่ามโนวิญญาณเราก็ได้วิญญาณ 6 ขึ้นมาอีกด้วยดีจดไม่ถูกมั้ง

�มันจะเกิดจักรสุวิญญาณ โสตวิญญาณ พานวิญญาณ ชิวหาวิญญาณ กายวิญญาณ� มโนวิญญาณขึ้นมาอีก 6 ชนิดตามจำนวนของอายันตะนะอย่างที่สรุปความสั้นๆได้ว่าจากอายันตะนะภายในถึงเป็นเท่ากับอายันตะนะภายนอกมันก็เกิดวิญญาณอายันตะนะภายในมี 6 อายันตะนะภายนอกมี 6 ถึงกันเข้าเกิดวิญญาณ 6 อันเรื่องต่อไปมันก็มีว่าเกิดวิญญาณแล้วทำหน้าที่ทางวิญญาณของสิ่งทั้ง 3 นี้ ที่จดลงไปว่าอายันตะนะภายใน อายันตะนะภายนอกของวิญญาณไอ้ 3 อย่างนี้ทำงานอันรวมกันเนี้ยทำงานด้วยกันก็เรียกผัสสะแล้วก็มีผัสสะ 6 อีกผัสสะทางตา เรียกว่าจักรตุสัมผัสผัสสะทางหูก็เรียกว่าโสตสัมผัส ผัสสะทางจมูกเรียกพานสัมผัส ผัสสะทางลิ้นก็เรียกว่าชิวหาสัมผัส

�สัมผัสผิวหนังก็เรียกกายสัมผัส สัมผัสทางใจก็เรียกว่ามโนสัมผัสก็ได้มาอีก 6 อย่างที่เรียกว่าสัมผัสดูให้ดีว่าจดถูกไหมว่าตั้งแต่แรกมามีอายันตะนะภายใน 6 อายันตะนะภายนอก 6 ถึงกันเข้าก็เรียกว่าวิญญาณ6� 3อย่างนี้ทำหน้าร่วมกันเมื่อไรก็เรียกว่าผัสสะแล้วก็มีผัสสะ 6 ที่จะเรียนจากของจริงก็คือตาเห็นรูปเมื่อไร หูได้ยินจากเสียงก็เรียนจากสิ่งนั้นแหละไอ้ที่เรียนจากหนังสือให้รู้จักกับสิ่งที่เรียนว่าเป็นตัวผัสสะสิ่งที่เรียกว่าผัสสะนั้นแหละมีความสำคัญเป็นจุดที่สำคัญที่จะต้องควบคุมให้ได้ถ้าควบคุมผัสสะไม่ได้แล้วก็จะเกิดเรื่องถึงความทุกข์

ถ้ารู้เท่าทันควบคุมผัสสะได้ก็จะไม่เกิดทุกข์ผัสสะจะให้เกิดเรื่องเป็นความทุกข์ก็ต่อเมื่อทำงานต่อผัสสะนั้นเรามันโง่เราปราศจากสติ เราปราศจากวิชา เราปราศจากปัญญา เมื่อตาเห็นรู้จักรสุวิญญาณ3ประการนี้เรียกว่าผัสสะทางตา เวลานี้เป็นเวลาที่สำคัญที่สุดถ้าเราโง่ไปในผัสสะทางตามันก็จะทำให้เกิดเวทนา อเวทนาจะเป็นเวทนาทำให้เกิดความรู้สึกที่เป็นทุกข์แต่มันสวยก็เป็นเวทนาที่เป็นสุข ถ้ามันไม่สวยก็เป็นเวทนาที่เป็นทุกข์เวทนาคือความรู้สึกที่เกิดมาจากสัมผัสทางตาเวทนาก็เลยมี 6 ด้วยเหมือนกัน เวทนามาจากการสัมผัสทางตา เวทนาจะเกิดมาจากสัมผัสทางหู เวทนาจะเกิดมาจากสัมผัสทางจมูก ทางลิ้น ทางกาย ทางใจ ต่อไปเมื่อรูปที่เห็นนั้นมันสวยมันก็เกิดความรักถ้ารูปที่เห็นนั้นไม่สวยมันก็เกิดความเกลียดนี่กิเลสมันจะตั้งต้นที่ความรักกับความเกลียดอธิบายต่อไปเมื่อมันเกิดเวทนารู้สึกพอใจหรือไม่พอใจมันก็จะเกิดปัญหา ปัญหาไปตามลำดับจากเวทนาถ้าเวทนาเป็นที่ถูกใจก็เกิดปัญหาในทางที่จะเอา จะได้ จะมี จะเป็น

�ถ้าเวทนานั้นไม่ถูกใจว่าเกิดปัญหาในทางที่จะไม่เอาเป็นไม่ได้หรือว่าจะเป็นกันอีกแล้วให้ตายอย่างนี้ตัณหาแปลว่าความอยากแต่มันเป็นความอยากในทางโง่นี่ปัญหาก็พลอยมี 6 ไปตามจำนวน 6 ของอายันตะนะนี่ก็เหมือนกันคือตัณหาในรูป ตัณหาในเสียง ตัณหาในกลิ่น ตัณหาในรส ตัณหาในโอกตะพะ ตัณหาในธรรมรมย์ จะจดอยู่ในหนังสือก็ไม่มีประโยชน์อะไรแต่ถ้าเอามาจำไว้ในใจว่าเรากำลังจะเกิดปัญหาอะไรเมื่อไรให้รู้เท่าทัน ท่วงทีนั้นจะเป็นประโยชน์จะพูดต่อไปให้จบเสียก่อนว่าเกิดตัณหาคือความอยาก อยากเอา อยากได้ อยากเป็น

�ในเมื่อมันท้อใจอยากไม่ได้ ไม่เอา ไม่เป็น อยากจะทำอะไรเสียเมื่อมันไม่พอใจนี่ก็เกิดปัญหาแล้วความอยากอย่างโง่แล้วก็จะเกิดยึดมั่น ถือมั่น เกิดความรู้สึก ว่ากู ว่าฉันขึ้นมาทีเดียวอย่าพึ่งเป็นผู้อยากเรื่องนี้มันออกจะแปลกไม่เหมือนกับที่เคยเรียนมาตามหลักวิชาสามัญทั่วไปแล้วก็จะต้องถือว่ามีผู้อยากก่อนที่จะเกิดความอยากได้แต่ในทางธรรมะในทางจิตใจนี้มันไม่เป็นอย่างนั้นมันเกิดการปรุงแต่งขึ้นมากับความอยากรู้สึกอยากก่อนพอความรู้สึกอยากเกิดแล้วมันจึงค่อยเกิดความรู้สึกฉัน กูซึ่งเป็นผู้อยาก อยากจะได้ อยากจะเอามาอย่างนี้ก็เรียกว่าอุปาทาน อุปาทานเกิดมาจากตัณหาตามยึดมั่น ถือมั่น เป็นตัวตน เป็นของตนตัวกู ตัวฉันขึ้นมาคือเป็นผู้อยากนั้นเองถ้าเรียนอย่างรสอีกมันก็ขัดกับรสอีกเพราะผู้อยากมาทีหลังความอยากเหตุผลธรรมดาว่ามีไม่ได้เพราะมันมีผู้อยาก อยากกว่านั้นมันจึงจะมีความอยากแต่ในธรรมะนี้มันเป็นธรรมชาติ

ที่แท้จริงก็จะบอกให้รู้ว่าไอ้ตัวผู้อยากไม่ได้มีจริงมันหลอกๆมันก็เป็นเพียงความรู้สึกเท่านั้นเองมันเป็นความรู้สึกว่าตัวกูจะมีตัวกูจริงมีตัวตนจริงแต่มันรู้สึกว่ามีตัวกูที่อยากนี่ที่นี้เรารู้แผนการล่วงหน้าแล้วว่ากูผู้อยากนั้นไม่ใช่ตัวจริงเป็นความคิดผิด สำคัญผิด เข้าใจผิดของวิชาของความโง่ที่จะต้องเกิดขึ้นตามความอยาก

�ความอยากเรียกว่าตัณหาแล้วก็จะเกิดอุปาทานยึดถือตัวกูผู้ยิ่งใหญ่อยากนี่ก็เรียกตัวกูขึ้นมาแล้ว ก็มีอุปาทานเป็นผู้อยากแล้วก็เรียกว่ามีพบคือความมีอยู่แห่งตัวกู ตัวกูมีความแห่งตัวกูเรียกว่าพบอุปาทานเรียกว่าให้เกิดพบคือความมีอยู่สิ่งที่ยึดถือพบนี้เป็นไปเต็มทีแล้วก็เลยเกิดชาติเลยสมบูรณ์ขึ้นมาคือเป็นตัวตนที่เป็นที่ เป็นขนาด เป็นระดับเป็นตัวฉันที่คิดนึกอะไรในแบบตัวฉันเป็นที่

พอมีตัวฉันแล้วอะไรอะไรมันก็จะเป็นปัญหาล้อมตัวฉันซึ่งจะทำให้ตัวฉันเป็นทุกข์ถ้าไม่มีตัวฉันสิ่งเหล่านี้มันก็จะไม่มีเพราะมีตัวฉันไอ้สิ่งที่มาเกี่ยวข้องกับตัวฉันมันก็มีเป็นปัญหาขึ้นมาเช่นว่า ความเกิดของฉัน ความแก่ของฉัน ความตายของฉันความได้อย่างใจ ความไม่ได้อย่างใจอะไรก็เกิดขึ้นมาเกาะอยู่ที่ความรู้สึกว่าตัวฉันที่สมบูรณ์นั้นเองนี่เราเป็นทุกข์กันตอนนี้มีปัญหาความอยากเกิดอุปาทานผู้อยากเกิดความมีอยู่แห่งบุคคลที่อยาก เกิดความเต็มเปรียม ความเป็นบุคคลผู้อยาก และก็ต้องเป็นทุกข์ด้วยสิ่งต่างๆที่เข้ามาพัวพันอยู่กับบุคคลผู้อยากไม่ได้มีความอยาก ความเกิด ความเจ็บ ความแก่ ความตาย ความรู้สึกต่างๆนี่ที่ทำให้เป็นทุกข์ความทุกข์ทั้งหลายเกิดขึ้นได้เพราะเหตุนี่ที่พระพุทธเจ้าท่านตรัส ขอให้รู้จักสิ่งนี้เรื่องนี้เป็นเรื่องแรกอย่าจดไปเฉยๆ เอาไปทำความเข้าใจอยู่ตลอดเวลานานๆหน่อยแล้วจะเข้าใจพุทธศาสนาตัวจริงคือพุทธศาสนาที่แท้จริงที่ว่าความทุกข์มีอยู่อย่างไร เกิดขึ้นอย่างไร นี่เรียกว่าเรื่องความทุกข์นี่อีกเรื่องหนึ่งเป็นเรื่องความดับทุกข์ตรงกันข้ามก็ตั้งต้นมาอย่างตระกี้นี่อีกแหละค่อยดูทบทวนที่จดมาแล้วนะว่าอายันตะนะภายใน กับอายันตะนะภายนอกถึงกันเข้าก็เกิดวิญญาณ 6 ของ 3 สิ่งนี้ทำงานร่วมกันเรียกว่าผัสสะ 6

�ที่นี้ในขณะผัสสะนี้มันเกิดมีสติปัญญามีสติและมีปัญญาขึ้นมาก็เกิดเป็นผัสสะคนละชนิดกับชุดแรกที่เป็นผัสสะโง่ผัสสะไปสัมผัสอะไรด้วยความโง่ไม่เอาวิชาเข้าไปอยู่ในผัสสะที่เกิดในกรณีนี้ที่หลังจะไม่เกิดทุกข์มันมีผัสสะฉลาดที่ว่าตาเห็นรู้ก็ฉลาด หูเห็นรู้ก็ฟังเสียงก็ฉลาด จมูกได้กลิ่นก็ฉลาดลิ้นรู้สึกรสก็ฉลาดเมื่อสัมผัสผิวหนังก็ฉลาดจิตคิดอะไรมันก็ฉลาด มันฉลาดในขณะแห่งผัสสะก็เป็นวิชาสัมผัสอะไรอะไรด้วยความรู้ทุกตัวก็ฉลาดอย่างนี้มันก็เกิดเวทนาด้วยเหมือนกันแหละแต่มันเป็นเวทนาที่มีความฉลาดของเราควบคุมอยู่มันจึงไม่ทำให้เกิดตัณหาคือความรักคือความเกลียดเป็นไปตามอำนาจของเวทนาเพราะเวทนาถูกความฉลาดของเราควบคุมอยู่ควบคุมมาแล้วตั้งแต่ผัสสะโน้นเมื่อมันมีผัสสะสัมผัสมันฉลาดรู้สติมาทันท่วงทีเวทนานั้นไม่ทำให้เกิดตัณหารักคือตัณหาเกลียดได้มันก็ไม่เกิดตัณหานี่มันเรียกว่าตัณหาดับปัญหาไม่เกิดถ้ามันเก่งมากกว่านั้นเวทนามันก็ดับเวทนามันก็ไม่เกิดก็ผัสสะมันฉลาดแต่ตามปกติเราฉลาดไม่ค่อยจะทันในขณะแห่งผัสสะทุกคนก็ไปย้อนระลึกถึงสิ่งที่เป็นไปมาแล้วหรือยังไม่เป็นไปก็ได้เพราะว่าตาเราเห็นรู้ว่าโง่หรือฉลาดเมื่อหูได้ฟังเสียงว่าเราโง่หรือฉลาด

�จมูกได้กลิ่นก็ถึงอันสุดท้ายว่าเราโง่หรือเราฉลาดว่าตาเห็นรูปที่น่ารักเราไปรักไปแล้วเห็นรูปที่ไม่น่ารักเห็นรูปศัตรูนี่เราก็ไปโกรธเขาแล้วไอ้รูปคู่รักมันก็ไปรักกันแล้วมันก็ไม่มีอะไรที่จะยับยั้งได้หรือฟังเสียงที่ไพเราะเสียงเพลงที่เราชอบเราลุกขึ้นไปเต้นตามเพลงนั้นแล้วตั้งแต่เมื่อไรนี่มันไม่มีสติ

ไม่มีเครื่องควบคุมไม่มีการยับยั้ง เสียงน่าเกลียดน่าชัง เสียงของศัตรูผู้อาฆาตเราก็โกรธก็เกลียดเขาแล้ว กลิ่นก็เหมือนกันเมื่อกลิ่นหอมเราก็ยินดีด้วยเหมือนกันแต่ถ้ากลิ่นเหม็นเราก็ขัดใจกันแล้วนี่มันเป็นเรื่องที่เกิดเวทนาเกิดตัณหาเกิดความทุกข์เสียแล้วถึงเอากันใหม่เป็นลูกศิษย์ของพระพุทธเจ้าทำให้เป็นคนที่มีสติเมื่อตาเห็นรูป เมื่อหูฟังเสียง จมูกได้กลิ่นทั้ง 6 6อย่างนั้น มีสติก็เห็นรูปเสียงมีสติพอที่จะไม่ไปรักมันเห็นรูปไม่สวยมีสติที่จะไม่ไปเหยียบมันลองด่ามันว่าสักว่ารู้โว้ยจะให้มันมีความหมายว่าสวยหรือไม่สวยก็ได้ยินเสียงก็เหมือนกันมันสักว่าเสียงคนนั้นโว้ยจะไม่ยอมให้มาคอบงำจิตใจกูเพราะหรือว่าไพเราะกลิ่นก็เหมือนกันสักว่าจะหอมหรือว่าเหม็นก็สักว่าเป็นกลิ่นทั้งนั้นรสที่ลิ้นก็เหมือนกันอร่อยหรือไม่อร่อยก็สักว่ารสเท่านั้นเอง

สัมผัสผิวหนังว่านิ่มนวลเหลือเกินมันก็สักว่าสัมผัสผิวหนังที่นี่สัมผัสในใจก็สักว่าในใจเท่านั้นแหละอย่างนี้ก็ว่ามีสติสัมผัสทุกอย่างในโลกเป็นสัมผัสที่ฉลาดคือมีความรู้ที่ถูกต้องสติในความรู้ระลึกได้ถูกต้องนั้นได้ในขณะที่สัมผัสสัมผัสอะไรอันนั้นมันกลายเป็นสิ่งที่เราจะศึกษาเรียนรู้ไปหมดไม่ให้เกิดเวทนาไม่ให้เกิดตัณหาจะเห็นรูปนี่มันจะรู้สึกรูปเราจะต้องทำอะไรกับรูปนี้ไหมเราจะต้องจัดการกับรูปนี้ไหมถ้ามันไม่มีเรื่องที่เกี่ยวข้องกันก็แล้วๆกันเลิกกันไปถ้ามันมีเรื่องที่เกี่ยวข้องก็ทำไปรูปอะไรที่มันเห็นอยู่จะต้องทำอย่างไรกับรูปที่เห็นอยู่นี้ให้เสียงที่ได้ยินนี้ให้ได้กลิ่นที่สัมผัสอยู่นี้ส่วนมากมันไม่ต้องทำอะไรอย่างไปอินร้ายกับมันมันก็จะหายไปเองถ้าถ้ามันเป็นเรื่องที่เราต้องทำก็ต้องทำด้วยสติด้วยปัญญาอย่าไปหลงให้เกิดตัณหาให้เกิดอุปาทานนี่ผัสสะอย่างนี้

เรายังไม่เคยมีเรามีแต่จะยินดีหรือยินร้ายเกิดเวทนาและก็ผัสสะเราก็ตกเป็นทาสของเวทนาทาสของตัณหาก็ได้เป็นทุกข์เดี๋ยวนี้มันจะกลับตรงกันข้ามก็จะไม่ตกเป็นทาสของเวทนาไม่เป็นทาสของตัณหาก็รู้เท่าทันในขนาดผัสสะพระพุทธเจ้าท่านได้ตรัสไว้ว่าผัสสะเป็นเรื่องสำคัญทั้งหมดของทุกเรื่องอย่าได้อย่าเสียอย่าเป็นทุกข์เป็นสัมมาทิฐิสุขาทิฐิก็อยู่ที่ผัสสะนั้นล่ะให้รู้เรื่องผัสสะให้ควบคุมผัสสะให้ได้นี่คือรู้พุทธศาสนาจริงๆมันรู้ได้ตรงนี้รู้เรื่องผัสสะและควบคุมผัสสะได้ก็ไม่เกิดเวทนาที่จะหลอกให้เรารักหรือเกลียดแล้วก็เกิดตัณหาไม่ได้หรือตัณหาดับตัณหาดับอุปาทานตัวกูผู้อยากก็ไม่เกิดคือดับพบคือความเป็นแห่งตัวกูก็ดับชาติความสมบูรณ์อันตัวกูมันก็ดับความทุกข์ทั้งหลายมันก็เกิดไม่ได้มันไม่มีอะไรมาเป็น เกิด แก่ เจ็บ ตาย กูหรือไม่มีอะไรที่จะเป็นทุกข์มาเป็นของกูความทุกข์มันก็ดับเราเหลือบตาดูให้ดีว่ามันตั้งต้นมาจากจุดเดียวกันแล้วมาแยกทางกันตรงกลางอันหนึ่งไปทางที่จะเป็นทุกข์อันหนึ่งมาในทางที่จะไม่เป็นทุกข์อย่าพึ่งเบื่อนะจำอีกทีว่า ตา หู จมูก ลิ้น กา�

http://www.vcharkarn.com/varticle/33941

. . . . . . .