ธรรมะภาคปฏิบัติ โดย ท่านพุทธทาส ภิกขุ
หน้าที่ 1 – ลักษณะของการปฏิบัติ
ที่จริงหัวข้อนี้ก็ดีอยู่ก็จะได้พูดเรื่องลักษณะของการปฏิบัติกันเสียทีและก็ควรพูดกันอย่างธรรมดาสามัญด้วยคำสามัญที่เป็นเรื่องของธรรมชาติธรรมะภาคปฏิบัติก็คือธรรมะในส่วนที่เป็นการปฏิบัติธรรมะนั้นในส่วนที่เป็นปริยัติก็มีส่วนที่เป็นปฏิบัติก็มี ปติเวชก็มีคือเรื่องการเรียนก็มี เรื่องการกระทำก็มี เรื่องผลของการกระทำก็มีเดี๋ยวนี้ท่านกำหนดให้พูดเรื่องธรรมะในภาคปฏิบัติก็จะได้พูดกันในเรื่องของการปฏิบัติ วิธีการปฏิบัติเป็นส่วนใหญ่ การปฏิบัติธรรมะก็คือปฏิบัติพรมจันทร์พูด๓ษาวัดวาสักหน่อยก็เรียกว่าการประพฤติพรมจันทร์ปฏิบัติธรรมะนั้นคือการปฏิบัติพรมจันทร์ในความหมายทั่วไป มันก็คือทำหน้าที่ของมนุษย์เพราะว่าธรรมะนั้นตามภาษาบาลีในอินเดียแท้ๆแปลว่าหน้าที่ธรรมะคือหน้าที่ของมนุษย์มนุษย์คือหน้าที่จะทำให้ดีที่สุดจะมีข้อปฏิบัติหรือรายละเอียดก็ว่าเรื่องหนึ่งแต่ในชั้นนี้ขอให้รู้ว่าธรรมะแปลว่าหน้าที่ดังนั้นการปฏิบัติธรรมะคือการทำหน้าที่ของมนุษย์เดี๋ยวนี้ก็ดูการปฏิบัติท่านจะเห็นความสำคัญของการปฏิบัติจะเป็นธรรมะก็ดีหรือจะเป็นอะไรอื่นก็ดีถ้าไม่มีการปฏิบัติก็ไม่มีอะไรอื่นอะไรจะมีความรู้ไปถึงไหนมันก็ไม่มีผลอะไร
ถ้าไม่มีการปฏิบัติดังนั้นท่านจึงถือว่าไอ้การปฏิบัตินั่นเป็นส่วนสำคัญเหมือนดังว่าการทำนาเราก็มีนา มีวัว มีควาย มีน้ำ มีท่า มีเมล็ดพันธุ์ต้นกล้าอะไรก็มีหมดแล้วอย่างนี้ก็เรียกกินอะไรไม่ได้ต้องมีการทำนาตอนที่เป็นการทำนานั่นแหละเป็นการปฏิบัติจะทำกันกี่อย่างก็เข้าใจว่าทุกคนพอจะมองเห็นได้นับตั้งแต่การไถนา คาดนา ดำนารักษาข้าวให้ดีจนกว่ามันจะออกรวงนี่เรียกการปฏิบัตินั้นแล้วเราก็ได้ข้าวเปลือกถ้าไม่ทำนาไม่มีการปฏิบัติมันก็ไม่รู้กินอะไรนี่มีความรู้เรื่องทำนาแล้วก็ทำนาก็ได้ผลคือข้าวการทำนานี้เป็นของที่รู้จักกันทุกคนแต่ยังมีความหมายหนึ่งคือภาษาธรรมะการทำนาในทางธรรมะทางจิเตทางใจก็มีคำกล่าวในพุทธภาษิตว่าทำนาอัมตะคือนาที่ทำแล้วมีอัมตะจะผลคือความไม่ตายคำว่าทำนาอมตะเรื่องที่เกิดว่าคือธรรมะนั่นเองการปฏิบัติธรรมะนั่นแหละคือการทำนาอมตะเดี๋ยวนี้เราคุ้นเคยกับคำพูดที่ว่าปริยัติ ปฏิบัติ ปติเวช แล้วก็ค้นเคยเรียนพระวินัยปฏิบัติก็มี 3 คือปฏิบัติสมาธิ ปฏิบัติศีล ปฏิบัติปัญญา ปติเวชก็มี 3 คือได้มรรค ได้ผล ได้นิพพานนี่เป็นคำที่คุ้นปากกันดีอยู่แล้วอยากจะให้เข้าใจแจ่มแจ้งในการปฏิบัติแม้จะมีคำบัญญัติไว้เฉพาะศีล สมาธิปัญญาแต่ก็มีรายระเอียดมากและรวมกันนั้นแหละเรียกการปฏิบัติซึ่งเป็นหัวข้อที่ท่านทั้งหลายกำหนดให้อาตมาบรรยายในวันนี้นี้ ทีนี้ก็อยากจะขอให้รู้คร่าวๆแล้วก็ดูในรายระเอียดเป็นหัวข้อที่เราต้องดูนี้ว่าข้อที่ 1 คือปริยัติหรือทางหลักวิชาที่เรารวบรวมไว้เพื่อการปฏิบัติก็รู้ว่าปริยัติรวบรวมหลักวิชามันมีอะไรบ้างในวันนี้ไม่ต้องพูดเพราะไม่ขอให้พูดข้อต่อไปคือตัวการปฏิบัติตามความรู้นั้นนี้มันก็มีเรื่องที่จะดูคือตัวธรรมะที่จะปฏิบัตินั้นก็เป็นส่วนหนึ่งกิริยาอาการที่จะปฏิบัติลงไปก็เป็นส่วนหนึ่งวิธีหรือเทคนิคเคล็ดลับที่จะให้สำเร็จประโยชน์เต็มที่ในการปฏิบัตินี้คือก็มีอยู่ที่รากฐานที่ช่วยเหลือในปัจจัยการปฏิบัตินั้นก็มีนี้เรียกว่าโคลงของการปฏิบัติเราจะปฏิบัติอะไรก็ต้องรู้จะปฏิบัติอะไรก็ต้องมีเทคนิคปฏิบัติได้อย่างไรก็ต้องรู้แล้วมันมีรากฐานหรือปัจจัยที่ซ่อน เร้นอยู่ในนั้นก็มีโดยเฉพาะเจาะจงคืออินทรีย์ 5 พละ 5 ศรัทธา ปริยัติ สติ สมาธิ ปัญญานี่เป็นธรรมะสะโมทานเป็นรากฐานในซ่อนอยู่ในการปฏิบัติทุกชนิดไม่ว่าจะทำอะไรจะต้องจัดให้อินทรีย์หรือพละนี้ถูกต้องพอดีการปฏิบัตินั้นๆก็จะสำเร็จได้โดยง่ายถ้าอินทรีย์พละมากเกินไปจะทำให้ยากน้อยไปอะไรไม่สมส่วนกันในอินทรีย์แล้วการปฏิบัตินั้นที่ตั้งใจปฏิบัติเป็นไปได้อยากหรือเป็นไปไม่ได้เลยส่วนนี้เราไม่พูดถึงกันมากนักเพราะเราสอนกันตรงๆปฏิบัติได้เลยๆไม่ได้สอนว่ามันมีอะไรใต้นั้นซึ่งต้องขยับขยายปรับปรุงเพราะว่าเราจะทำอะไรถูกต้อง มีวิริยะคือความพากเพียรถูกต้อง มีสติถูกต้อง สมาธิถูกต้อง มีปัญญาถูกต้องในสิ่งที่เราจะกระทำมีสติถูกต้องสมาธิถูกต้องปัญญาถูกต้องในสิ่งที่เรากระทำ ถ้ามันขัดข้องไม่สำเร็จจงดูสิ่งทั้ง 5 แล้วกระทำการกระทำนั้นจะได้ผลนี้ก็ต้องมารวมไว้ด้วยการปฏิบัติในฐานะเป็นรากฐานหรือปัจจัยทั้งการปฏิบัติหรือว่าเป็นครูไม่ว่าจะสอนเด็กอะไรมันก็รู้จักใช้รู้จักควบคุมอินทรีย์ 5 พละ 5ทีนี้ผลของการปฏิบัติไม่ต้องสนใจก็ได้ถ้าเราปฏิบัติทีนี้ผลมันก็มีไม่ต้องขอร้องให้มีไม่ต้องเจตนาให้มีผลมันก็ต้องเป็นเหตุอยู่ตามธรรมชาติจึงต้องมีผลเนื่องอยู่ด้วยการปฏิบัตินั่นเองทีนี้เราปฏิบัตินั้นตัวการปฏิบัติแล้วก็มองดูข้างบนมันมีปริยัติอยู่ด้วยและมองดูข้างร่างมันมีผลที่มันต้องเกิดขึ้นอย่างแน่นอนคล้ายๆกับว่ารออยู่เดี๋ยวนี้เราปฏิบัติลงไปเท่านั้นปฏิบัตินั้นถูกต้องเราต้องมีความรู้ทางปริยัติผลของการปฏิบัตินี้มันก็เพื่อส่วนตนเพื่อบุคคล บางคนได้รับความสุขก็มีเพื่อสังคมคือคนทั้งโลกได้รับความสุขก็มีเพราะว่าพระศาสดาทุกศาสนาไม่เคยระเลยประโยชน์ข้อนี้คนทั้งโลกหรือว่าคนทั้งหมดอยู่ด้วยเสมอนี่เรียกว่าผลตัวบุคคลผู้นั้นก็มีอยู่ผลทั่วโลกก็มีอยู่นี้ผลส่วนบุคคลนั้นมันแยกออกเป็น 2 ชั้นได้แก่คือผลที่คนธรรมดาจะได้รับอย่างเป็นอยู่ในโลกอย่างสุขสบายอยู่ในโลกนี่ก็ผลส่วนบุคคลนั้นหรืออีกอย่างบุคคลนั้นต้องการปฏิบัติเหนือโลกนั้นธรรมะสูงสุดที่อยู่เหนือโลกทุกๆประการนั่นก็ทำได้ถ้าสูงขนาดนั้นเราเรียกมรรคผลหรือนิพพานนี่ผลของการปฏิบัติมันก็เป็นได้อย่างนี้ฉะนั้นดูกันให้ระเอียดอีกสักหน่อยก็ได้ ข้อที่เรียกว่าความรู้ของการปฏิบัตินั้นเป็นหลักทั่วไปของการศึกษาแล้วต้องรวบรวมมากันให้หมดแล้วก็มาเลือกกันว่าจะเอาอันไหนอย่างไรโดยประสงค์แล้วต้องมีการเตรียมนั้นการปฏิบัติธรรมะต้องมีการเตรียมให้เพียงพอกับโดยเฉพาะการประพฤติทางจิตทางใจต้องมีการเตรียมออกมาถึงภายนอกคือร่างกายจะปฏิบัติภายนอกร่างกาย จะอบรมร่างกายก็ต้องตระเตรียมต้องมีการตระเตรียมที่ถูกต้องแล้วต้องมากพอให้ครบเครื่องของมันจึงจะสะดวกทีนี้ไอ้ธรรมะที่ตะปฏิบัตินี้ควรจะรู้จักกันให้ดีๆว่าธรรมะทั้งหลายแม้ต้องปฏิบัติเหมือนกันมันยังมีอยู่เป็น 2 พวกคือธรรมะประเภทหนึ่งปฏิบัติแล้วเพื่อให้เกิดธรรมะอีกพวกหนึ่ง
ธรรมะพวกนี้เป็นเหมือนเครื่องมือคือใช้ปฏิบัติแล้วเป็นเหมือนธรรมะตัวจริงที่เราต้องการครูบาอาจารย์เคยอ่านหนังสือมันมีหลักสูตรธรรมะเครื่องมือมีผลกับธรรมะที่ต้องการจะได้ผลนั้นอิทธิบาท 4 เป็นธรรมะเครื่องมือเพื่อให้เกิดธรรมะอื่นอีกที สะมะปะทาน 4 ความพากเพียร 4 ประการนี้ก็เหมือนกันปฏิบัติแล้วมันทำให้เกิดธรรมะ 4 เพราะว่าความเพียร 4 มันเอาไปใช้กับธรรมะประเภทที่จะทำให้ธรรมะเกิดขึ้นแต่โดยปกติการทำให้ความดีหรือบุญกุศลก้าวหน้าในทางของธรรมะนั่นแหละท้ายที่สุดว่ามรรคมีองค์ 8 สัมมาทิฐิ สัมมาวาจาเป็นต้นก็เป็นธรรมะเครื่องมือที่จะทำให้เกิดทุกข์กับนิโรจน์ที่จะทำให้ความทุกข์ดับไปทีนี้ธรรมะฆราวาสธรรมที่กำหนดไว้ว่าจะต้องพูดในครั้งก่อนฆราวาสธรรมก็เป็นธรรมะเครื่องมือแต่ไม่ค่อยมีใครจะมองธรรมะเครื่องมือก็เลยไม่เอาไปใช้อย่างถูกต้องก็เลยได้เพียงนิดเดียวอย่างนี้ ก็ขอให้ดูให้ดีว่าธรรมะเครื่องมือ ความเพียร มรรคมีองค์ 8 หรือฆราวาสธรรมเป็นต้นเมื่อได้ธรรมะสูงสุด 7 ประการก็เอามาใช้อย่างธรรมะเครื่องมือก็ได้โพธิ์ โพธิ์มันทำให้เกิดโพธิ์เรียกผู้ชม 7 ประการอาตมาจะอธิบายธรรมะเครื่องมือ 7 ประการใช้ได้แม้ในการทำนาเอาไปเยาะเย้ยเขาไม่รู้ว่าธรรมะเครื่องมือคืออย่างไรบอกให้ได้เลยก็ได้ผู้ชม 7 ประการ สติ วิริยะ ธรรมมายะ ปีติ สมาธิ อุเบกขา7ประการนั้นทำไปเหอะแล้วจะบรรลุนิพพานสิ่งที่เราต้องการจะได้คือมรรคผลนิพพานนี่สูงอย่างนี้เอามาใช้นิพพานได้อย่างไรข้อที่ 1สติควบคุมได้สติจะกินจะนึกทำงานมันเป็นอย่างไรมันก็ต้องธรรมมาวิริยะแล้วมันเลือกอย่างไรมันเลือกแล้วมันจะทำวิริยะใช้แรงทำงานและปีติก็พอใจ สันโดษ พอใจตลอดเวลาขุดดินครั้งหนึ่งก็พอใจครั้งหนึ่งๆ ขุดดินทั้งวันทั้งปีมันก็มีความพอใจในทางปีติเป็นไปอย่างนี้มันก็มีความสงบแห่งการกระทำเรียกว่ามันเข้ารูปเข้าลอยและเรียกว่าปัดสะทิความสงบเข้ารูปเข้ารอยมีสมาธิก็เพ่งกำลังทั้งหมดอยู่ที่อุเบกขากำลังทั้งหมดคอยความถูกต้องมีความถูกต้องแล้วก็คอยดูเฉยๆว่าเมื่อไหร่รวงข้าวมันจึงจะออกมามันคงไม่ถึงกับต้องอ้อนวอนให้รวงข้าวออกมามีตอนอย่างนั้นอย่างนี้ก็ต้องเป็นไสยศาสน์ไปก็เหลือพวกเรามันทำให้ถูกต้องตามลำดับแล้วมันจึงจะออกผลมานี่ดูเถอะว่าธรรมะสูงสุดเพื่อโพธิ์เป็นธรรมะเครื่องมือเอามาใช้อะไรก็ได้เครื่องมือเป็นนิพพานก็ได้จะเอามาทำเป็นเครื่องมือทำนาค้าขายก็ได้ลองคิดดู ท่านครูบาอาจารย์ทั้งหลายเข้าใจเรื่องนี้จะดีมากคือธรรมะที่เป็นเครื่องมือที่สูงสุพดในพุทธศาสนามาใช้ได้เต็มที่ธรรมะเครื่องมือกับธรรมะที่ต้องการจุดประสงค์ ทีนี้ก็ว่ามันจะได้ผลตามที่พูดเมื่อกี้นี้ส่วนบุคคลก็ได้ส่วนสังคมก็ได้จะไปนิพพานก็ได้ถ้าใช้ธรรมะอย่างถูกต้องธรรมะเครื่องมือก็ใช้อย่างเครื่องมือทำให้ได้ผลที่ต้องการก็เกิดธรรมะที่ต้องการบางอันก็ต้องมีเทคนิคหรือเทคโนโลยีเหมือนกันที่จะใช้ธรรมะให้ถูกเรื่องถูกราวของมันนี้ข้อต่อไปที่ว่ากิริยาอาการนี้โพธิ์ของการกระทำปฏิบัตินั้นมันจะทำลงไปที่กาย ที่วาจา ที่ใจเราจึงเรียกว่ามันมีการกระทำที่พูดจาถูกต้องที่การคิดนึกถูกต้องนี่รู้แจ้งด้วยปัญญาที่ถูกต้องทำให้มันถูกต้องที่กาย วาจา ที่จิตทำให้มันถูกต้องที่สติปัญญาดูทีเดียวหมดก็ปฏิบัติอย่างนี้อะไรทั้งหมดมันก็มีอย่างนี้มันต้องปฏิบัติให้ถูกต้องที่กาย วาจา จิต ที่สติปัญญิ ทีนี้ก็มาถึงข้อที่ว่ามันมีวิธีวิเคราะห์ปฏิบัติอย่างไรแต่ละอย่างๆอย่างไรนี่คือรายละเอียดที่จะพูดตามหัวข้อที่ท่านกำหนดให้ว่าภาคปฏิบัติก็หมายความว่าจะระบุให้เห็นการปฏิบัติอย่างหนึ่งซึ่งจะมีหลาย 10 อย่างคงจะเบื่อคงจะหลับไปแล้วถ้าไม่สนใจก็แค่สนใจแล้วมีประโยชน์มากแค่ขอร้องให้กำหนดจดจำแต่ละคำให้ดีก่อนที่จะพูดภาษาธรรมดาๆ ภาษาชาวบ้านธรรมดาๆ ภาษาไทยธรรมดาๆไม่อยากใช้ภาษาบาลีก็เพราะให้เข้าใจได้ง่ายของคนไทยคือภาษาไทยนี่ขอร้องให้ท่านกำหนดจดจำภาษาไทยๆเหล่านี้เอาไว้ให้ดีเราจะได้ไม่ต้องพูดภาษาบาลีมันก็มีพูดภาษาไทยไม่ได้ก็ต้องพูดด้วยภาษาบาลีแต่อาตมาพบว่าอาจจะพูดด้วยภาษาไทยธรรมดาเกือบทั้งหมดนี่เพ่งจะพูดเรื่องภาคปฏิบัติข้อหนึ่งๆๆๆ หรือว่าชนิดหนึ่งด้วยภาษาไทยคำแรกคือหลีกๆ การปฏิบัติที่เป็นการหลีก หลีกจากที่ที่ไม่ควรจะอยู่ทีที่ไม่เป็นการโคจรโดยเฉพาะอย่างยิ่งภิกษุสามเณรไม่เข้าไปในสถานทื่อโคจรที่ไม่ควรเข้าไป อโคจรหมายความว่าเข้าไปแล้วมีอันตรายเช่นว่าสัตว์ไปหากินในที่อัคโคจรก็ตายเช่นวัวไปหากินในที่อโคจรก็ถูกเสื้อกัดตายเป็นต้น การปฏิบัตินี้ควรจะหลีกเสียเช่นหลีกไปหาวิเวก หลีกไปหาที่สงบสงัดเหมาะสมกับการปฏิบัติและหลีกอย่างใหญ่เรื่องของธรรมะคือหลีกจากเรียนไปปฏิบัติ แต่เดี๋ยวนี้มันเป็นเรื่องบรรพชิตถ้าเป็นชาวบ้านมันไม่ถึงขนาดนั้นมันอยู่ที่บ้านที่เรือนได้แก่หลีกสิ่งที่มันรบกวนจิตใจเป็นข้าศึกของการปฏิบัติและความสมควรคือบางครั้งบางคราวก็ทำเหมือนคนไม่ได้เรียนเช่น สเต็กวัวมันผิดศีลบางครั้งมันก็เป็นเรื่องธรรมะมันก็ผิดศีลนี่ชั่ววันชั่ว 2 วันนี้คำว่าหลีกคือการปฏิบัตินี้คำต่อไป เว้น เว้นเป็นภาษาไทยตัวเว้นทุจริต 3 ทุจริตทางกาย วาจา ใจ เว้นตามสิกขาบทต้องห้ามถือศีล 5 ศีล 8 อะไรก็ตามและสิกขาบทต้องห้ามก็เรียกว่าเว้นที่เป็นชั้นต่ำลงไปเว้นอบายมุขเสีย ดื่มน้ำเมา เที่ยวกลางคืน เล่นการพนัน คบคนชั่วเป็นมิตรเกียจคร้าน ทั้งการงานอบายมุขทางแห่งความฉิบหายก็เว้นเสียเว้นมิจฉาชีพหากินโดยทุจริตก็เว้นเสีย สรุปเรียกว่าเว้นการปฏิบัตินี้สรุปได้เป็นคำเดียวว่าเว้นนี้ลองกลับไปว่าต้องการทำหรือทำเรียกสั้นๆว่าทำต้องทำสุจริตและที่มันน่าดูและงดงามมีอาจารย์รักมีการปฏิบัติที่งดงามน่าดูประกอบกันอยู่กับสิ่งที่เรียกว่าศีลนี่เรียกว่าทำ ทำลงไปการอบรม อบรมเป็นภาษาไทย อบรมจิต อบรมสติ อบรมจิตคือการกระทำอยู่ตลอดเวลาให้จิตเจริญ จิตสงบ จิตเห็นแจ้ง จิตตามธรรมดานั้นไม่อาจทำหน้าที่ในชั้นสูงถ้าจิตอบรมแล้วก็อาจทำหน้าที่ในชั้นสูงได้นี่ก็เรียกว่าอบรม สติเราไม่ค่อยจะมีเราเป็นคนขาดสติมันก็ต้องทุกข์จงอบรมให้สติมันมีคำว่าอบรมมีความหมายว่าทำให้ถูกต้องซ้ำๆๆๆอยู่อย่างนี้ อย่าให้มันขาดตอนได้อย่างนี้เรียกว่าอบรมถ้าทำทีละทีละหน่อยอย่างนี้ไม่เรียกว่าอบรมต้องทำให้ถูกต้องติดต่อกันไปไม่ว่างเว้นนี่เรียกว่าอบรมนี่ก็เรียกว่าทำให้มากภาวะณีตะตาเป็นคำบาลีรำคาญจึงไม่เอามาพูด พูดเป็นไทยๆแล้วแปลว่าทำให้มากนี่ก็หมายความว่ามันต้องทำให้มากจนชำนาญตรงกับคำที่ว่าทักษะที่ใช้กันอยู่เจริญธรรมะวิหาร เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขาทำให้มากจนเป็นเนื้อเป็นตัวเป็นจิตเป็นใจเลยโดยเฉพาะอย่างยิ่งอุเบกขารู้จักทำให้เข้มแข็งอุเบกขารู้จักทำให้เข้มแข็งพอเห็นความจริงแล้วต้องเฉยอย่างไม่ว่างเว้นตามที่ต่อกันไปเลื่อย ถ้าเฉยได้ในสิ่งใดมันก็เห็นอย่างนั้นตลอดไปมันจะวางเฉยไม่ต้องยึดถือเช่นเมตตา มุทิตา อุเบกขาอย่างนี้ก็ทำทั้งวันทั้งคืนตลอดเวลาที่ทำได้อย่างเราจะแผ่เมตตาสามัคคี สัตว์ทั้งหลายเกิด แก่ เจ็บ ตาย ทั้งหมดทั้งสิ้นก็ทำมากที่สุด คือทำให้มันสงบโดยทำสมาธิทำจิตให้สงบตั้งจิตบำรุงจิตไว้ให้ดีอย่าให้กิเลสเกิดมารบกวนจิตใจหรือแม้แต่นิวรณ์ 5 ประการก็บำรุงจิตไว้ให้ดีอย่าให้นิวรณ์เกิดได้ ให้มันสงบจากนิวรณ์ ราคะ โทสะ โมหะมันก็ไม่เกิดถ้าเราทำให้สงบเมื่อราคะ โทสะ โมหะ ไม่เกิดชีวิตนี้ก็สบาย เย็นเป็นสุขอยู่ได้ไม่เป็นโรคประสาทอย่างที่เขาเป็นๆกันถ้าคิดมันมารบกวนอยู่เลื่อยมันก็เป็นโรคจิต โรคประสาทไม่ต้องสงสัยใจมันสงบรู้จักทำให้สงบมากที่สุดตามที่เวลาจะอำนวยมีเวลาให้มันสงบจะเป็นนิวรณ์ก็ดี ทำให้เห็นแจ้งจิตนี้ก็สงบเมื่อเห็นแจ้งในสิ่งต่างๆได้ง่ายจะต้องทำให้สงบก่อนถ้าสงบจะเป็นจิตที่มีความสามารถจะเห็นแจ้งในอะไรก็ได้เหมือนเช็ดแว่นตา แว่นตาสกปรกมองอะไรไม่เห็นพอเราเช็ดก็ใสมันก็เห็นดูอะไรเห็นเมื่อจิตมันกลุ้มอยู่ด้วยนิวรณ์ด้วยกิเลสก็ดีจิตนั้นจะไม่แจ่มใส ไม่ผ่องใสจนเห็นธรรมะได้นั้น จึงทำให้เป็นสมาธิทำให้จิตแจ่มใสมองเห็นในสังขารทั้งปวงอย่างนี้เรียกว่าทำให้เห็นแจ้ง นี้คำต่อไปทำให้เข้าใจทำให้เห็นแจ้งนั้นสูงกว่ามากทีเดียวนี้ทำให้เข้าใจแล้วคิดนึกคำนวณทำให้เข้าใจโดยใช้เหตุผลสอบสวนแล้วการคิดนึกอย่างมีวิธีการที่จะคิดนึกมันก็เข้าใจไม่รู้มันก็ถามให้ได้รับความรู้มาทำให้เป็นความเข้าใจทำ ทำให้รู้นี้ธรรมดามากเล่าเรียนธรรมดาสามัญเช่นเรียนในโรงเรียนนี่ทำให้รู้มันต้องจำได้ได้ยินได้ฟังแล้วต้องจำได้มากๆแล้วขยันถาม จด จำในธรรมะก็อย่างนั้นแหละเรียกว่าทำให้รู้ธรรมดาสามัญทีนี้ก็มาถึงคำว่าสมาทานทีนี้เต็มใจว่าไม่ใช้คำไทยใช้คำบาลีว่าสมาทานเดี๋ยวคุณจะคุดคร้านว่าเมื่อกี้สัญญาจะใช้คำไทยล้วนก็ได้เหมือนกันคำว่าสมาทา�
http://www.vcharkarn.com/varticle/34406