ส่วนประกอบและโครงสร้างของชีวิต โดย ท่านพุทธทาส ภิกขุ

ส่วนประกอบและโครงสร้างของชีวิต โดย ท่านพุทธทาส ภิกขุ

หน้าที่ 1 – รูปธรรม-นามธรรม
ท่านสาธุชนที่มีความสนใจมีการพัฒนาชีวิตทั้งหลาย การบรรยายครั้งนี้จะกล่าวโดยหัวข้อว่า ส่วนประกอบและโครงสร้างของชีวิต สิ่งที่เรียกว่าชีวิตมันต้องมีส่วนประกอบเป็นเครื่องประกอบมันก็มีรูปโครงมีจุดสร้างมาอย่างไร เหมือนกับสั่งทั้งหลายด้วยเหมือนกัน ถ้าเรารู้เรื่องนี้ดีก็รู้จักใช้สิ่งที่เรียกว่ามนุษย์นั้นดี มีความจำเป็นที่จะต้องศึกษาส่วนปรกอบและโครงสร้างของชีวิตเพราะว่าชีวิตไม่ได้ประกอบด้วยสิ่งใดสิ่งหนึ่งสิ่งเดียวล้วนๆในลักษณะง่าย ๆ เหมือนตุ๊กตาที่ปั้นขึ้นด้วยดินเหนียวกับน้ำนี่เรา จึงต้องยังสนใจ ยังต้องอดทนหรือศึกษาในเรื่องนี้ยังมีส่วนซับซ้อนทั้งฝ่ายรูปธรรม-นามธรรม และอย่างหน้าประหลาดมหัศจรรย์ด้วยคือการที่จะรู้เรื่องชีวิต และส่วนประกอบของชีวิต

นั้นมันต้องพิจารณากันที่ส่วนประกอบหรือส่วนผสมชีวิตที่ จะมาประกอบเป็น ชีวิตนั้นเอง หลักการทางพระพุทธศาสนามีอีกๆหลายศาสนาในอินเดียมีกล่าวตรงกันคืออยู่อย่างหนึ่งคือว่าคือสิ่งต่างๆจะมีชีวิตหรือไม่มีชีวิตล้วนประกอบขึ้นด้วยสิ่งที่เรียกว่าธาตุ ธาตุหรือธาตุธรรมชาติเป็นคำสุดท้ายสำหรับการที่จะแยกส่วนออกไปออกไปและก็ไปสิ้นสุดอยู่ที่ธาตุแล้วก็พอและอุปกรณ์การศึกษาแยกแยะในสมัยโบราณไม่ได้ละเอียดละออเหมือนอย่างนี้คือการศึกษาโดยแยกแยะสิ้นสุดลงที่ธรรมชาติและนี้ก็จำๆกันเกี่ยวกับจำนวนของธาตุ ลักษณะของธาตุถือว่ามีธาตุอยู่ 6 ธาตุ 1. คือ ธาตุดิน 2. คือธาตุน้ำ 3. ธาตุไฟ 4. ธาตุลม 5. ธาตุอากาศ 6. ธาตุวิญญาณ รวมกันเป็น 6 ธาตุนี่คือธาตุที่ประกอบกันขึ้นเป็นสิ่งที่เรียกว่าชีวิตนี่ควรจะเข้าใจความหมายสิ่งเหล่านี้พอสมควรคือธรรมชาติที่หมายถึงคุณสมบัติของสิ่งนั้นๆในการทำหน้าที่ประกอบกันเป็นสิ่งใหม่ไม่ได้หมายถึงปรากฏการภายนอกคือที่เห็นกันอยู่แล้วเรียกกันอยู่อย่างนั้น เช่นว่าธาตุดิน ธาตุน้ำ ธาตุดินหมายถึงดิน ธาตุน้ำหมายถึงน้ำ ธาตุไฟหมายถึงไฟ ธาตุลมหมายถึงลม ธาตุอากาศหมายถึงอากาศ ธาตุวิญญาณหมายถึงวิญญาณเหล่านี้ก็หาไม่ที่ควรจะรู้ก่อนคือ 4 ธาตุที่ประกอบกันขึ้นเป็นร่างกาย คือธาตุดิน ธาตุน้ำ ธาตุไฟ ธาตุลม ธาตุดิน หมายถึง คุณสมบัติที่กินเนื้อที่มันจึงกลายเป็นของแข็งเพื่อที่จะกินเนื้อที่ยุบเนื้อที่สำหรับจะยึดกันเป็นโครงสร้างขึ้นมาได้ ธาตุน้ำ หมายถึง คุณสมบัติที่ยึดเกาะในติดกันที่เห็นได้ในลักษณะของน้ำน้ำจะรวมตัวเป็นสิ่งเดียวกันก้อนเดียวกันอยู่เสมอและมันก็มีลักษณะของเหลวไหลได้แต่คุณสมบัติสำคัญที่สุดของมันก็คือการยึดเกาะในติดกันซึ่งเรียกว่าคุณสมบัติของธาตุน้ำ ธาตุลม ธาตุไฟ หมายถึงคุณสมบัติที่ร้อน แสดงความร้อนแสดงการเผาไหม้ ธาตุลมก็ หมายถึง การเคลื่อนไหวลอยไปมาอยู่เป็นปกติคือเราจะเห็นได้ง่ายๆโดยเนื้อของคนเรากับเนื้อมาก้อนท่อนหนึ่งก้จะเห็นว่าส่วนที่เป็นของแข็งในเนื้อก็ยึดกันอยู่นั้นก็มีและส่วนที่เป็นของเหลวคือเลือดเป็นต้น ซึ่งก็มีความอบอุ่นหรืออุณหภูมินั้นก็คืออยู่ระดับหนึ่งในอากาศสิ่งที่เป็นแก๊สมันระเอียดเผลอๆอยู่เป็นปกตินี่ก็มีมันกำลังรวมอยู่เป็นเลือดก้อนหนึ่งพอแยกออกเป็นส่วนๆ ส่วนนั้นก็คือธาตุ 4 ดังนั้นธรรมชาติดินมันไม่จำเป็นต้องหมายถึงแผ่นดินมีก้อนดินหมายถึงเกี่ยวกับคุณสมบัติกินเนื้อที่เป็นของแข็ง ธาตุนั้นก็หมายถึงน้ำที่เกาะติดกัน ธาตุไฟก็คืออุณหภูมิสามารถมากหรือน้อยถ้ามากก็อาจจะถึงไหม้ทีนี้ก็ธาตุลมคือการระเหยของแก๊สที่มีอยู่ตามมากตามน้อยความใหญ่โตก็เป็นพายุได้คือ 4 ธาตุนี้เป็นธาตุฝ่ายวัตถุคือฝ่ายรูปธรรมเป็นส่วนประกอบของชีวิตที่เป็นส่วนรูปธรรมคือร่างกายมี 4 ธาตุ ส่วนธาตุที่ 5 คือธาตุอากาศแปลว่าที่ว่างสำหรับจะให้สิ่งต่างๆเรานั้นอาศัยอยู่ที่ยังมีคุณสมบัติวางที่สิ่ง 1 ก็ยังอาศัยได้นั่นก็คือธาตุอากาศหรือธาตุว่างต้องมีถ้าไม่มีสิ่งต่างๆก็มีไม่ได้เพราะไม่มีที่อาศัยนี่ก็นับเป็นธาตุเป็นธาตุๆ1ด้วยเหมือนกันมีคุณสมบัติเป็นที่รองรับที่สิ่งทั้งหลายทั้งปวงที่อาศัยอยู่ได้คือธาตุสุดท้ายคือธาตุวิญญาณธาตุจิตธาตุใจคือเป็นการกล่าวตามหลักวิชาความรู้ร่วมกันในประเทศอินเดียสมัยโบาณรวมทั้งพระพุทธศาสนาด้วยนี่ก็เรียกว่าธาตุจิตธาตุใจธาตุวิญญาณที่ไม่เหมือนกับ5ธาตุเป็นต้นเพราะมันเป็นธาตุฝ่ายนามที่ทิ้งน้ำไปโดยจะรู้สึกนึกคิดนั้นเองไม่ใช่วัตถุไม่มีตัววัตถุแต่เป็นคุณสมบัติ

หน้าที่ 2 – ธาตุดินธาตุน้ำ ธาตุไฟ ธาตุลม
ที่รู้สึกอะไรได้น้อมไปได้ตามอารมณ์ที่มากระทบนี่คือถือเป็นธาตุสำคัญที่จะให้เกิดชีวิตสิ่งเป็นชีวิตที่จะมีความรู้สึกเช่น อากาศสภาพนั้นจะเรียกว่าสำคัญๆก็ได้ไมาสำคัญก็ได้ถ้าไม่มีธาตุอาหารธาตุว่างและก็ไม่มีอะไรตั้งอยู่ไไม่ให้มีที่ให้ตั้งคือธาตุที่เป็นธาตุฝ่ายวัตถุฝ่ายร่างกาย ดิน น้ำ ไฟ ลม ก็ตั้งอาศัยอยู่บนที่ว่างเมื่อธาตุที่เป็นรูปธรรมฝ่ายร่างกายนี้ก็เป็นที่ตั้งอาศัยจิตวิญญาณนั้นอีกทีหนึ่งแแปลว่าทั้ง6ธาตุสมบูรณ์ครบถ้วนโดยอาศัยกันถึงที่สุดแล้วแต่ถ้าเกิดมีสิ่งที่มีชีวิตดังนั้นชีวิตคนๆหนึ่งซึ่งประกอบด้วยธาตุ6ธาตุเป็นพื้นฐานให้ทำความเข้าใจให้ชัดเจนในข้อนี้พวกที่เป็นรูปหรือวัตถุมี4ธาตุเป็นนามหรือเป็นจิตมีอีก1ธาตุส่วนที่เป็นที่ว่างที่อาศัยให้คนอื่นอาศัยอยู่ได้มีอีก1ธาตุนี่ก็น่าสนใจอัศจรรย์ที่ท่านจัดสิ่งที่มีคุณสมบัติที่ว่างให้คนอื่นนั้นอาศัยจัดธาตุธาตุหนึ่งด้วยเหมือนกันแล้วจึงได้ธาตุครบ6ธาตุขึ้นมาสิ่งที่อยู่ใน6ธาตุนั้นเป็นเรื่องของวัตถุรูปธรรมมี4ธาตุ สิ่งที่เป็นของจิตวิญญาณมี1ธาตุเป็นกลางๆที่ตั้งที่อาศัยหรือของธาตุอื่นๆมีอีก1ธาตุนี่ก็ได้ศึกษาเกี่ยวกับเรื่องของคนเราถือว่าเมื่อร่างกายได้เกดมามีชีวิตเป็นชีวิตเป็นคนขึ้นมาแล้วย่อมสมบูรณ์อยู่ในธาตุทั้ง6พร้อมจะทำหน้าที่ของแต่ละธาตุที่นี้ธาตุที่เป็นวัตถุคือ ธาตุดิน ธาตุน้ำ ธาตุไฟ ธาตุลมนี้ต้องให้เกิดอยัญตนะ ส่วนที่เป็นวัตถุคือว่าไม่ใช่จิต ธาตุดินธาตุน้ำ ธาตุไฟ ธาตุลม ที่เกิดอยัญตนะที่เป็นวัตถุที่เป็นภายในก็คือในเกิดสิ่งก็เรียกว่า ตา หู จมูก ลิ้น กาย ที่ใช้ให้เป็นระบบ1ระบบ คือ ระบบตา ระบบหู ระบบจมูก ระบบลิ้น ระบบกาย นั่นแหละเป็นอยัญตนะ1ภายนอกซึ่งคนเรียกอยัญตนะภายนอกได้แก่รูปที่มากระทบตา เสียงที่มากระทบหู กลิ่นที่มากระทบจมูก รสที่มากระทบลิ้น กฎอาพที่มากระทบผิวหนัง ความรู้สึกทางผิวหนังได้เป็นอยัญตนะประเภทที่เป็นวัตถุขึ้นมา5คู่ ทีนี้ส่วนที่เป็นวิญญาณและธาตุนั่นล่ะมันได้เกิดอยัญตนะภานในคือจิตหรือมโนขึ้นมาแล้วก็มีของคู่กันคืออยัญตนะภาายนอกคือธรรมนาลมต่างๆที่เข้าไปกระทบจิตให้จิตรู้สึกได้ดังนั้นจึงเป็นคู่คู่เดียวฝ่ายจิต5คู่ ฝ่ายวัตถุ คำว่าอยัญตนะ อยัญตนะ แปลว่าสิ่งที่สัมผัสได้หรือรู้สึกได้สามารถมีความรู้สึกได้นี่คือ ตารู้จักดู หูรู้จักเสียง จมูกรู้จักกลิ่น เป็นต้น ถ้าว่าคนเราไม่มีอยัญตนะเหล่านี้ที่ไม่มีระบบตา ระบบหู ระบบจมูก ระบบลิ้น ระบบผิงหนังแล้ว มันก็ไม่รู้สึกว่ามีอะไรที่เป็นวัตถุ โลกก็เลยไม่มีทีโลกปรากฎว่ามีอยู่อย่างนี้เรารู้สึกอย่างนี้ก็เพราะว่าเรามีระบบตา หู จมูก ลิ้น กาย เนี้นแหละตรงกันข้ามกับสิ่งที่อยู่ภายนอกอย่างนั้นให้รู้เสียงกฎอาพพระธรรมนาลมหรือส่วนฝ่ายระบบจิค

นั่นก็มีอยัญตนะภานในที่เรียกว่าจิตก็ได้เรียกว่ามโนโดยทั่วไปเรียกว่ามดนมีผู้กระทบก็คือความรู้สึกต่างๆที่ได้เคยรู้สึกทางตา หู จมูก ลิ้น กาย มาแต่ก่อนเหลืออยู่เพียงสัญญาซึ่งสัญญาในอดีตทำให้เกิดความรู้สึกทางคิดเป็นอะไรขึ้นมาสำหรับจะกระทบจิตเมื่อเรามีระบบร่างกาย ระบบจิตใจ ระบบร่างกายก็มีแยกได้เป็น 5 ส่วน ระบบจิตใจมี 1 ส่วน ทั้งหมดล้วนแต่อาศัยระบบที่ว่างที่อากาศให้ตั้งอยู่ได้ทีนี้พิจารณาดูโดยละเอียดอีกสักนิดหนึ่งเช่นว่าตา หู เป็นต้น มันต้องมีส่วนที่เป็นเนื้อเป็นธาตุดินเป็นก้อนลูกตาและก็มีละเอียดชั้นละเอียดว่านี้เป็นประสาทเรียกว่าประสาทตา ประสาทตาได้อาศัยลูกตารวมกันเป็น1 ระบบเรียกว่า ระบบตา หูก็มีเส้นประสาทหูรวมกันกับอีกคนละหูเป็นระบบหูที่จะได้ยินอะไรก็ได้ จมูกก็มีประสาทสำหรับรู้กลิ่นเป็นที่ตั้ง ลิ้นก็มีประสาทที่ลิ้นรู้รสที่ลิ้นทางลิ้น ผิวหนังก็มีประสาททั่วไปที่รู้สึกทางผิวหนังได้นี่เป็นเรื่องฝ่ายวัตถุไม่ใช่เรื่องฝ่ายทางจิตใจแม้จะเรื่องระบบประสาทแล้วก็ยังเป็นเรื่องฝ่ายวัตถุที่ให้ความสะดวกความพร้อมของจิตให้จิตมาทำหน้าที่รู้สึก ดังนั้นไอ้พวกกาย หู ทั้งหลายก็เป็นเสมือนหนึ่งที่ตั้งที่อาศัยที่ทำงานก็เหมือนกับฟิส์สำหรับทำงานของพวกจิตหรือของพวกระบบจิตไม่ว่าจิตตั้งอาศัยที่ทำงานของวัคถุหรือรูปหรือกายที่รวมเข้าเป็นหนึ่งเดียวกันมันคงเป็นหนึ่งซึ่งมันต้องมีสิ่งเหล่านี้อย่างครบถ้วนครบถ้วนเราจะรู้จักสิ่งต่างๆในโลกอันนี้เราพูดยากถ้าเราจะมีไม่เกิน6จะได้หรือไม่ก็พอจะได้เหมือนกันและมันก็จะได้รู้สึกได้อีกบ้างอย่างซึ่งเหล่านี้เราไม่รู้สึกว่าเรามีเพียง6 มีก็มีก็รู้สึกเพียง6 ก็รู้สึกได้เพียง6 ถ้าเรามีส่วนลดลงมา

หน้าที่ 3 – ฝ่ายร่างกาย 5 ระบบ ฝ่ายจิต 1 ระบบ
เป็นเพียง5 เพียง4 และเราก็จักรู้จักว่าสิ่งต่างๆในโลกเพียง 5หรือเพียง 4 ลดมาเพียง 3 เพียง 2 เช่นว่ามีระบบตา ระบบหูไม่มีระบบอื่นๆก็เหลืออยู่ 2 ระบบแต่เดี๋ยวนี้เมื่อมันได้เป็นมาอย่างนี้แล้วเป็นธรรมดาสามัญในสิ่งที่มีชีวิตมี 6 ระบบ เป็นฝ่ายร่างกาย 5 ระบบ เป็นฝ่ายจิต 1 ระบบ ก็ทำงานประสานกันอย่างดีที่สุดที่มันเป็นส่วนตายหรือส่วนรูปที่เขาเรียกพวกรูปจัดเป็นส่วนรู้ที่เป็นส่วนจิตวิญญาณเขาเรียกว่าเป็นส่วนนามจึงมีกลุ่มรูปอยู่ 5 ส่วนประกอบมีกลุ่มนามอยู่ 1 ส่วนคำว่ารูปมีความหมาย 2 ชนิดทำให้กำกวมได้รูในความหมายหนึ่งก็คือสิ่งที่เห็นได้ด้วยตาคือสิ่งที่จะเห็นได้ด้วยตาคือคำว่าฟอร์ม คำว่าไซ้นี่คือรูปภาษาบาลีก็เรียกว่ารูปอีกส่วนหนึ่งเป็นเรื่องของวัตถุไม่เกี่ยวกับการเห็นด้วยตาไม่เกี่ยวกับตาเกี่ยวกับอย่างอื่นก็ได้เป็นฝ่ายวัตถุเขาเรียกว่ารูปเพื่อจะแยกกันให้ชัดสักหน่อยรูปคือความหมายที่ว่ารู้สึกได้ด้วยตานั้นนะเราใช้เราใช้คำว่าฟอร์มๆอีกส่วนรูปที่เป็นวัตถุที่ไม่ใช่จิตใจเป็นรูปอะไรก็ได้ที่เรียกว่าคอปโพเดลริตี้ๆทั้งฟอร์มกับทั้งคอปโพเดลริตี้เรียกเป็นบาลีว่ารูปด้วยกันทั้งนั้น

แต่มันก็ต่างกันมากไม่มีคำว่าฟอร์มสำหรับตาอย่างเดียวคำว่าคอปโพเดลริตี้แปลว่าหู ตา จมูก ลิ้น ปากรวมเป็น 5 อย่างก็ได้คือเป็นฝ่ายรูปธรรมมีลักษณะเป็นรูปธรรมหน้าจะเรียกให้มันชัดเจนสักหน่อยว่ารูปเรียกว่าฟอร์ม รูปธรรมเรียกว่าคอปโพเดลริตี้แต่ไอ้รูปที่เรียกว่าฟอร์มมันก็เป็นคอปโพเดลริตี้ด้วยเหมือนกันนี่มันลำบากในการที่จะพูดจาในเมื่อเราเข้าใจแล้วเราก็พูดได้เราเข้าใจได้ส่วนอีกหนึ่งรูปเป็นพวกคอปโพเดลริตี้ในกลุ่มนามเป็นเมลเดลริตี้หมายถึงนามนามทั่วไปจิตหรือไม่ใช่จิตหรือเป็นเจตสิตเรียกว่าเป็นนาม เป็นนามถ้าพูดถึงจิตหมายถึงจิตที่รู้สึกได้นี่หมายถึงส่วนประกอบของจิตนี่เขาถึงใช้คำว่านามในความหมายที่กว้างออกไปหมายถึงเป็นจิตก็ได้หรือเจตตะสิตหมายถึงสิ่งที่เกิดกับจิตก็ได้เรียกว่านามนี่เรายังมองเห็นได้ว่าคนเราคนหนึ่งยังประกอบด้วยรูปและนามคนๆหนึ่งมีส่วนที่จะเป็นรูป 4 คือดิน น้ำ ลม ไฟ ที่เป็นนามหนึ่งคือธาตุวิญญาณที่มีอากาศสภาพในที่ว่างเป็นสื่อสำหรับให้ตั้งอาศัยให้สัมพันให้อะไรกันได้เข้าใจคำว่านามและรูปให้ชัดเจนเป็นสิ่งที่ตั้งอยู่ด้วยกันถ้าไม่มีรูปนามในใจก็ทำอะไรไม่ได้แต่ถ้าไม่มีใจรูปและนามก็ไม่มีอะไรจะชักให้เคลื่อนไหว เพราะฉะนั้นไอ้สิ่งที่เรียกว่าชีวิตจึงต้องประกอบด้วยรูปและนามคือส่วนร่างกายและส่วนจิตใจเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันเสมอไปถ้าปล่อยแยกออกจากกันเข้ามันก็ตายคือถ้ามันเข้ามาอาศัยกันอยู่มันก็ไม่ตายแต่มันทำอะไรได้นี่คือสิ่งที่เรียกว่ารูปนามหรือนามรูปในภาษาบาลีก็เรียกว่านามรูปทั้ง 2 อย่างรวมกันเป็นสิ่งเดียวคำพูดนี้เป็นเอกะวัฒนะสิ่งเดียวเรียกว่านามหรือรูปถ้าหากตัวแยกกันไม่ได้สิ่งเดียวจึงมี 2 ซีกซึ่งรวมกันอยู่เป็นสิ่งเดียวเราก็เรียกว่านามรูปหรือที่เราจะเรียกกันโดยสมมุติ สมมุติว่าเป็นคนๆหนึ่งมนุษย์คนหนึ่งโดยสมมุติว่ามนุษย์คนหนึ่งแต่ถ้าเรียกกันตามนามความจริงมันก็คือนามและรูปที่ประกอบกันอยู่ทีนี้จะต้องรู้จักสิ่งเหล่านี้ไปตามลำดับสิ่งที่มันจะทำให้มีเรื่องเป็นเรื่องเป็นราวหรือมีหน้าที่การงานหรือมีเหตุการอะไรขึ้นมาได้ซึ่งจะดูกันในส่วนที่เป็นฝ่ายรูปฝ่ายกาย ฝ่ายร่างกายก่อนซึ่งเรามีธาตุดิน ธาตุน้ำ ธาตุไฟ ธาตุลมอย่างที่กล่าวแล้วผสมกันร่วมมือกันอย่างถูกสัดส่วนคือก็เกิดอายันตนะสิงที่เป็นภายในคือตา หู จมูก ลิ้น กาย5ที่เป็นภายนอกคือ รูป เสียง กลิ่น รสหมดตะพระ 5คู่ๆกัน 5คู่ทีนี้ที่เป็นรูปนี่ก็เพราะว่ามันเป็นรูปธรรมเรียกว่ารูปธรรมหมดทั้ง 5คู่ทั้ง 5คู่เรียกว่ารูปธรรมหมดไม่ใช่รูปเพียงสิ่งเดียวที่คู่กันกับตามันก็รูปแล้วก็เป็นรูปธรรมด้วยเหมือนกันตา หู จมูก ลิ้น กาย 5อย่างนี้ก็เป็นรูปธรรมรูป เสียง กลิ่น รส หมดตะภะ 5นี้ก็เป็นรูปธรรม 5คู่ซึ่งมีธรรมชาติของมันว่าถ้าถึงกันเข้าเมื่อไหล่ก็จะเกิดวิญญาณคือวิญญาณ5ธาตุมาทำหน้าที่เกิดวิญญาณปรากฎคือว่าตากระทบกันเข้ากับรูปก็เกิดวิญญาณทางตา เมื่อหูกระทบกันเข้ากับเสียงก็เกิดวิญญาณทางหูจมูกกระทบกันเข้ากับกลิ่นก็เกิดวิญญาณทางจมูกลิ้นกระทบกันเข้ากับรสก็เกิดวิญญาณทางลิ้นผิวหนังผิวกายหรือกายกระทบกับบดตะภะคือสิ่งที่มากระทบผิวหนังก็เกิดวิญญาณทางกายหนือทางผิวหนังนี่เราก็มีวิญญาณ 5 ไปตามจำนวนของอายันตนะที่มีอยู่ซึ่งจะต้องจับใจความสำคัญที่มีอยู่นั้นให้ได้ว่าอายันตนะ

หน้าที่ 4 – ผัสสะ
ภายในกับอายันตนะภายนอกซึ่งกระทบกันเมื่อใดก็จะเกิดสิ่งที่เรียกว่าวิญญาณขึ้นที่อายันตนะนั้นๆคือที่ตา ที่หู ที่ลิ้น ที่จมูก ที่ปากที่กายอายันตนะภายในคือสื่อที่อยู่ภายในอายันตนะภายนอกคือสื่อที่อยู่ภายนอกพอกระทบถึงกันเข้าแล้วก็เกิดสิ่งที่เรียกว่าวิญญาณจากวิญญาณอาธาตุจากวิญญาณอาธาตุที่มีอยู่ตามธรรมชาติเมื่อทำหน้าที่ปรากฎขึ้นที่อายันตนะเหล่านี้นี่เป็นวิญญาณ 5ชนิดที่เนื่องกับวัตถุหรือร่างกายเอ้าทีนี้ไปดูฝ่ายจิตใจบ้างอายันตนะภายในคือมโนหรือใจได้กระทบกันเข้ากับธรรมมารมณ์คือสิ่งที่เป็นความรู้สึกทางใจมันก็เกิดวิญญาณคือมโนวิญญาณขึ้นมาเป็นฝ่ายใจเอามารวมกันคือวิญญาณฝ่ายตายมี 5ก็จะรวมเป็น 6วิญญาณ 6วิญญาณทางตา ทางหู ทางจมูก ทางลิ้น ทางกายและทางใจก็จะเป็นวิญญาณ 6อายันตนะก็ได้กัน 6ที่อยู่ข้างในคือตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ อายันตนะที่อยู่ข้างนอกก็คือรูป เสียง กลิ่น รส โอตะภะธรรมมารมณ์มันเลยเป็นเรื่อง 6 ทั้งนั้น ถ้าเอามารวมกันกันเข้าทั้งฝ่ายนามและฝ่ายรูปถ้าแยกกันอยู่และฝ่ายรูป 5 ระบบฝ่ายนามหรือฝ่ายจิตจะมีอยู่ 1 ระบบเสมอไปทีนี้จะดูฐิติต่อไปว่าเมื่ออายันตนะภายนอก อายันตนะภายในกับอายันตนะภายนอกถึงกันเข้าแล้วก็เกิดวิญญาณตามชื่อของอายันตนะนั้นๆที่เกิดวิญญาณมันเลยได้เป็น 39ขึ้นมาตัวอย่างเช่นตากระทบรูปเกิดวิญญาณทางตามันได้เป็น3สิ่งขึ้นมา ตา รูปและวิญญาณทางตาเป็น 3อย่างรวมกันไม่ได้และไม่ใช่สิ่งเดียวกันด้วยส่วนที่เป็นระบบตามันใช่เป็นระบบรูปข้างนอกพอถึงกันเข้าก็เกิดวิญญาณทางตานี่เป็นนามเป็นฝ่ายนาม 3อย่างนี้ทำงานด้วยกันอยู่คือถึงกันอยู่หรือว่าวิญญาณทางตารู้สึกต่อสิ่งที่เรียกว่ารูปโดยอาศัยตานี้เรียกว่าผัสสะ

ผัสสะคำนี้สำคัญมากเป็นเยี่ยงต้น เป็นต้นตอ เป็นที่รวมเรื่องทั้งหลายทั้งปวงคำว่าผัสสะ ผัสสะหรือบางทีก็เรียกว่าสัมผัส สัมผัสก็เหมือนกันจะเรียกว่าสัมผัสหรือผัสสะมันก็คือการกระทบของสิ่งทั้ง 3คืออายันตนะภายใน อายันตนะภายนอกและวิญญาณหากเข้าใจหัวใจของสิ่งเหล่านี้ให้ดีและก็จะง่ายนี่มันมาถึงว่าอายันตนะภายในกระทบกับอายันตนะภายนอกเกิดวิญญาณทั้ง 3ประการนี้ยังถึงกันอยู่ยังไม่แยกจากกันนี้เรียกว่าผัสสะที่เขามีผัสสะแล้วก็เป็นเหตุให้มีเวทนาหรือรู้สึกเป็นเวทนาขึ้นที่อายันตนะที่ระบบประสาทที่ทำให้รู้สึกได้เป็นเวทนาเวทนาที่เป็นสุข เวทนาที่เป็นทุกข์เวทนาที่ไม่สุข ไม่ทุกข์ครั้นเวทนาเกิดขึ้นอย่างนี้แล้วมันจะเป็นสิ่งที่ทำให้เกิดสิ่งที่เรียกว่าสัญญาคือความมั่นหมายในเวทนานั้นว่าเวทนานั้นเป็นอย่างไรเป็นเวทนาดีชั่วเวทนาสุขทุกข์เวทนาหญิงเวทนาชายหรือเวทนาอะไรก็แล้ว แต่เดี๋ยวนี้เรียกว่าสัญญาความมั่นหมายเพราะได้เกิดขึ้นในสิ่งนั้นคือถ้าสัญญามั่นหมายเกิดขึ้นอย่างนี้แล้วก็เกิดสิ่งที่เรียกว่าสังขารคือความคิดนาๆชนิดเกี่ยวกับสัญญานั้นสัญญาเกิดขึ้นอย่างไรมันก็จะเกิดความคิดรวมๆกันกับสัญญานั้นเสมอนี่คือสิ่งที่เรียกว่าสังขารทีนี้มันมีสังขารอย่างนี้แต่เราก็ได้ครบได้วิญญาณที่เมื่ออายันตนะนอกเหนือจะพบกันได้เวทนา ได้สัญญา ได้สังขารรวมทั้งหมดเป็น 5วิญญาณทำหน้าที่ได้หลายระยะแรกกระทบของอายันตนะก็เกิดวิญญาณทางอายันตนะหรือท่านจะเวทนาเป็นต้นแล้วมโนก็สัมผัสเวทนานั้นอีกทีก็เกิดวิญญาณทางมโนนั้นวิญญาณจึงเกิดได้ทั้งข้างต้นทั้งตรงกลางทั้งข้างปลายเรียงลำดับจึงเรียงเอาไว้สุดท้ายว่ารูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณทบทวนให้เข้าใจอย่าให้ฟั่นเฟือนได้ว่าเมื่อตาอยกตัวอย่างกรณีของตาเมื่อตากับรูปกระทบกันเกิดวิญญาณทางตา 3อย่างนี้กำลังทำงานด้วยกันอยู่เรียกว่าผัสสะ ถ้ามีผัสสะก็ต้องเกิดเวทนานี่คือรู้สึกจึงเป็นความรู้สึกยินดียินร้ายถูกใจไม่ถูกใจเกิดเวทนาแล้วก็ต้องเกิดสัญญาของการมั่นหมายลงที่เวทนานั้นว่าเป็นอย่างไรต่อไปถ้ามีความสำคัญมั่นหมายอย่างไรแล้วมันก็เกิดความนึกคิดที่จะทำเกี่ยวกับสิ่งนั้นนี่เรียกว่าสังขารเลยได้ครบ 5เรียกว่าขันทั้ง 5คือส่วนที่เป็นรูปเป็นระบบรูปเรียกว่ารูปขันส่วนที่เป็นเวทนาเรียกว่าเวทนาขันต์ส่วนที่เป็นสัญญาเรียกสัญญาขันต์ที่เป็นสังขารเรียกสังขารขันต์ที่เป็นวิญญาณทุขนาไม่ว่าตอนไหนรวมเรียกว่าวิญญาณขันต์นี่ในชีวิตคนเราแต่ละวันๆมันจึงมีการเกิดขันต์ 5รอบแล้วรอบเล่าๆจนจะนับไม่ไหวก็เกิดรูปขันต์ เกิดเวทนาขันต์ เกิดสัญญาขันต์ เกิดสังขารขันต์ เกิดวิญญาณขันต์นี่คือ

หน้าที่ 5 – ภาวะของชีวิต
ปกติภาวะของชีวิตจึงเกิดขันต์ทั้ง 5อยู่อย่างนี้ทีนี้มันยังมีเรื่องที่สำคัญกว่านั้นก็หมายความว่าถ้าเกิดขันต์แต่ละขันต์ขันต์ใดขึ้นมาแล้วมีจิตที่หมายมั่นด้วยอวิชชาถ้าขันต์นั้นเป็นตัวกูหรือขันต์นั้นเป็นของกูขึ้นมาอย่างนี้ถ้าขันต์เฉยๆก็กลายเป็นกูปาทานะขันต์ตัดเจ้าของคือตัดจิตที่ไปยึดถือเอามาเป็นของตนขันต์เฉยๆก็เรียกว่าขันต์ ถ้ามีอุปาทานก็แล้วแต่ใครจะตั้งชื่อไหนอุปาทานขันต์คือขันต์ที่มีอุปาทานยึดครองคือขันต์เฉยๆไม่ทำอะไรใครไม่หนักไม่เบาไม่เผ็ดไม่ร้อนไม่อะไรแก่ใครเป็นขันต์เท่านั้นแต่ถ้าขันต์นั้นมีการยึดมั่นด้วยอุปาทานหือว่ามาจากอวิชชาจิตยึดมั่นกูตัวกูเป็นของกูหรือเป็นตัวตนเป็นของตนมันก็เกิดทุกข์เป็นอาการของความทุกข์ร้อนบ้างเผารนบ้างหนักบ้างผูกมัดครอบงำย่ำยีทิ่มแทงบ้างนี่มันจึงเป็นทุกข์ขึ้นมาขันต์กับอุปาทานขันต์ต่างกันอย่างนี้ขันต์คือไม่ได้ยึดถือจิตไม่ได้ยึดถืออุปาทานขันต์คือขันต์ที่จิตยึดถือแล้วก็เป็นทุกข์นี่เรื่องขันต์ 5ล้วนๆไม่มีความยึดมั่นก็ไม่เป็นทุกข์ทีนี้เรื่องขันต์ 5ที่มีอุปาทานก็ไปยึดแล้วก็เป็นทุกข์อุปาทานนั้นคือการเข้าใจผิดนึกว่าเป็นตัวเป็นตนเป็นมาจากอมิตตาความโง่ของบุคคลนั้นเอง

นี่เราจึงมีทุกข์เรื่องมาจบลงที่ตรงความทุกข์นับตั้งแต่มีธาตุดินน้ำลมไฟปรุงกันขึ้นเป็นอวัยวะภายนอกภายในแล้วสัมพันธ์กันเกิดวิญญาณเกิดผัสสะเกิดเวทนาเกิดตัญหาเกิดเวทนาเกิดสัญญาเกิดสังขารวิญญาณเป็นขันต์ 5ถ้าไม่เกิดความยึดมั่นถือมั่นก็ดีไปไม่ต้องเป็นทุกข์ถ้าเผลอเกิดไปยึดมั่นถือมั่นไม่ว่าด้วยเหตุใดก็ตามมันก็เป็นทุกข์เห็นใหมว่ามันมาจบลงด้วยความทุกข์อย่างนี้ธรรมดาสามัญของคนธรรมดาสามัญที่กล่าวอย่างนี้เรียกว่าเราดูกันในแง่ของขันต์ 5เกิดเป็นขันต์ 5แต่ในแง่อื่นวิถีทางอื่นที่จะดูเรียกว่าในแง่ของปจิจะสมุบาทมันก็เป็นเรื่องดำเนินไปจนถึงเป็นทุกข์เหมือนกันแต่คำกล่าวหรือวิธีพูดมันเรียกอีกอย่างหนึ่งตอนต้นเหมือนกันคอยฟังให้ดีจะว่ามาตั้งแต่ต้นทั้งหมดว่ามีธาตุทั้ง 4ประกอบกันขึ้นเป็นอยันตนะภายในภายนอกอยันตนะภายในภายนอกถึงกันก็เกิดวิญญาณทั้ง 3อย่างนี้ทำงานรวมกันเรียกว่าผัสสะพอเกิดผัสสะแล้วก็ต้องเกิดเวทนาเหมือนกันในเรื่องขันต์พอเกิดเวทนาแล้วจะนับว่าไปเกิดตัญหาพอเกิดเวทนาอย่างใดอย่างหนึ่งแล้วก็เกิดตัญหาของความอยากโดยสมควรกับเวทนานั้นเวทนาเป็นสุขก็อยากได้อยากเอาเวทนาเป็นทุกข์ก็อยากทำลายอยากตัดเวทนาไม่สุขไม่ทุกข์ก็โง่หลงไหลต่อไปไม่รู้ว่าจะทำยังไงทำอะไรนี่ก็เกิดตัญหาคือความอยากไปตามเวทนานั้น นี่ถ้าเกิดตัญหาคือความอยากแล้วมันเป็นธรรมดาธรรมชาติที่เกิดความรู้สึกมันมีคู่อยากเรียกว่าอุปาทานเรียกว่าอยากเอามาเป็นของกูนี่คือตัญหาทำให้เกิดอุปาทานอย่างนี้พอเกิดอุปาทานก็ทำให้เกิดภพคือความมีแห่งบุคคลนั้นก็รูปขึ้นมาทีนี้มีความรู้สึกว่าเป็นชาติเป็นบุคคลนั้นในความรู้สึกเป็นตัวกูเป็นของกูเป็นความหมายความมีชาติเป็นตัวกูและก็เอาอะไรทุกข์อย่างมาเป็นของกูเป็นของกูมันก็เกิดขึ้นทุกชนิดแปลว่าจบลงด้วยความทุกข์เหมือนกันในแนวที่มองดูเป็นขันต์ทั้ง 5มันก็เกิดเป็นขันต์ทั้ง 5แล้วก็ยึดถือเป็นตัวตนเป็นของตนมันก็เป็นทุกข์ในที่ปจิจะตุบาทก็เกิดมาตามลำดับๆ จนสุดท้ายเกิดภพเกิดชาติเกิดตัวกูเต็มที่และก็เกิดทุกข์เหมือนกันนี่ทุกข์ทั้งปวงนี่ปีนี้ฝ่ายวิญญาณอาฆาตดูฝ่าวิญญาณอาธาตุซึ่งมีอาการคล้ายกันมีอยู่ 5คู่ไปตามคู่5คู่ 5คู่จนเกิดอุปาทานหรือทุกข์คือทางฝ่ายนามหรือฝ่ายจิตคู่เดียวกันนั้นคือมโนกับธรรมมารมณ์จิตก็ได้มาจากวิญญาณอาฆาตเหตุปัจจัยสิ่งแวดล้อมเหมาะสมแล้ววิญญาณอาธาตุซึ่งเป็นวิญญาณธรรมชาติก็ปรุงตัวเองได้นี่เป็นจิตเป็นมโนขึ้นมาเมื่ออยันตนะภายในกับอยันตนะภายนอกกระทบกันวิญญาณอาฆาตทำให้เกิดอยันตนะภายในคือใจและเกิดอยันคนะภายนอกมากระทบใจใจกับอารมณ์ของใจกระทบกันแล้วมันก็เกิดเป็นวิญญาณทางใจมันก็เลยได้ 3อย่าง อีกมันก็มี 3อย่างคิดดูอยันตนะภายในกับอยันตนะภายนอกและตัววิญญาณ 3อย่างนี้ถึงกันอยู่ก็เรียกว่าผัสสะซึ่งในกรณีสิ่งของขันต์ 5มันก็เกิดเวทนาสัญญาสังขารวิญญาณอย่างเดียวกันแหละจิตใจเกิดมาจากภายในจากไอ้ต้นเหตุคือจิตใจมันก็เลยเป็นที่ตั้งความยึดถือเป็นเวทนาเป็นอุปาทานขันต์เป็นทุกข์เดียวกับเรื่องของฝ่ายวัตถุ เรื่องของฝ่ายวัตถุ 5คู่เป็นขันต์ล้วนๆไม่เป็นทุกข์พอยึดถือว่าเป็นอุปาทานขันต์ก็เป็น

หน้าที่ 6 – เหตุอยันตนะภายนอกภายใน
ทุกข์ข้อนี้เป็นอย่างไรฝ่ายคู่จิตหรือคู่นามนั่นก็เหมือนกันมันเป็นเหตุอยันตนะภายนอกภายในเกิดขึ้นเกิดวิญญาณเกิดผัสสะเกิดเวทนา สังขาร วิญญาณทำนองเดียวกันพอยึดถือก็เป็นทุกข์ถ้านี่เป็นเรื่องธรรมดาก็คือไม่มีสติเพราะฉะนั้นในแง่มันก็เกิดปติจะตุบาทถ้าเลือบไปดูในสาปติบาทมันก็เกิดเวทนา เกิดตัญหา เกิดอุปาทาน เกิดภพเกิดชาติอย่างเดียวกันกับเรื่องทางฝ่ายวัตถุทีนี้มีเรื่องสำคัญที่เราจะต้องรู้ตอนที่เรียกว่าผัสสะ ผัสสะน่ะผัสสะของ 5คู่หรือของ 1คู่ตอนท้ายนี้ก็ตามพอถึงผัสสะเกิดผัสสะแล้วนั้นมันมีทางแยกคือเป็นผัสสะที่มีสติกับผัสสะที่ไม่มีสติถ้าผัสสะตามธรรมชาติตามธรรมดาไม่มีสติคุณธรรมเข้ามาเกี่ยวข้องเป็นไปตามธรรมดามันก็เกิดเป็นตามธรรมดาเกิดเวทนา เกิดตัญหา เกิดอุปาทาน เกิดภพเกิดชาติจนเป็นทุกข์ก็ผัสสะมันโง่ผัสสะนั้นมันโง่ไม่มีวิชชา ไม่มีปัญญา ไม่มีสติ ไม่มีสัมปชัญญะเกิดขึ้นในขณะนั้นเป็นผัสสะโง่ก็ได้เกิดไปตามลำดับๆๆ

จนกระทั่งเป็นทุกข์ที่สุดในกรณีนี้พิเศษของบุคคลศึกษาอบรมค้นพบจิตใจคล่องแคล่วแล้วอยู่ในการควบคุมจิตแล้วซึ่งกลายเป็นเวทนาเป็นผัสสะที่มีสติสมกับได้รับผัสสะมีผัสสะเกิดขึ้นแล้วก็มีสติเกิดขึ้นด้วยติดตามมาด้วยพร้อมกันสติเป็นเหตุให้นึกได้ว่าอะไรเป็นอะไร อะไรคืออะไร อะไรเพื่ออะไรสตินี้ทำให้ผัสสะนั้นฉลาดผัสสะนั้นไม่โง่ซึ่งจะไม่เกิดผลอย่างเดียวกับผัสสะโง่ในกรณีที่ผัสสะเกิดผลอย่างเดียวกับผัสสะโง่ใยกรณีของผัสสะโง่ทำให้เกิดอุปาทานขันต์หรือเกิดปฐิจตุบาทชนิดที่เป็นทุกข์ถ้าในกรณีที่ผัสสะมันฉลาดมันก็เกิดเพียงขันต์ด้วนๆ ไม่เกิดอุปาทานขันต์มันก็ไม่เป็นทุกข์ในสายของปฐิเจตวาทมันก็ไม่เดินไปตามสายนั้นมันก็หยุดชงักที่มีสติมีผัสสะไม่เกิดเวทนา ตัญหาอุปาทานจนเป็นทุกข์แต่มีสติเต็มที่ในขณะของผัสสะสตินั้นเป็นเหตุให้รู้ว่านี่คืออะไร นี่คืออย่างไร นี่เพื่ออะไรแต่มันก็มีความรู้ว่าจะต้องทำอย่างไรเกี่ยวกับเรื่องนี้เกี่ยวกับผัสสะอันนี้จะเกิดเวทนาหรือไม่เกิดเวทนามันก็รู้กันแล้วว่าต้องทำอย่างไรถ้าเราทำไปตามที่สมควรเป็นจิตที่เป็นไปตามสมควรอย่างถูกต้องมันก็สำเร็จจิตแล้วก็ไม่มีทุกข์ปฐิจตุบาทไม่ได้เดินในรูปที่เป็นทุกข์กายเป็นเดินไปในรูปที่มีสติ มีปัญญา มีสัมปชัญญะถือว่าจะต้องทำอย่างไรก็ทำไปอย่างถูกต้องก็เลยไม่มีทุกข์นี่คือเค้าโคลงเรื่องของพฤติชีวิต ชีวิตมันมีเค้าโคลงอยู่อย่างนี้มีส่วนประกอบต่างๆกันอย่างที่ว่ามาแล้วที่เป็นธาตุก็เป็นธาตุดิน น้ำ ลม ไฟ อากาศ วิญญาณคือมันตรงกับอสันตนะภายในภายนอกก็ทำให้เกิดวิญญาณ ก็เกิด ผัสสะ เวทนา ตัญหา พาตาลแล้วแต่กรณี เราจึงรู้จักให้ดีในขณะเช่นเดียวกับผัสสะ อยันตนะภายในภายนอกเรามีวิญญาณทำหน้าที่กันนั้นเกิดผัสสะต้องมีสติมีความรู้ที่ถูกต้องนี้ตามธรรมดาเราไม่ได้มีความรู้มาตั้งแต่ในท้องเราก็เลยไม่รู้ทั้งเด็กทารกหรือเด็กทั้งหลายก็เดินมาตามธรรมชาติธรรมดาที่ไม่มีไม่รู้มันก็เลยมีอุปาทานมีปฐิจตุบาทและไม่เป็นทุกข์ในบาลีกล่าวไว้อย่างน่าขันว่าเด็กนั้นไม่มีความรู้เจตมุติปัญญาวิมุติเด็กนั้นก็ยินดียินร้ายตามเวทนาเกิดปํญหาอุปาทานเป็นทุกข์อย่างนี้ซ้ำๆซากๆจนเคยชินเป็นนิสัยคือเรื่องของคนทีนี้กว่าจะโตพอได้รับคำสั่งสอนเรื่องนี้เข้าใจเรื่องนี้หลักมันมีหลักเกณฑ์จะมีสติในขณะผัสสะทีนี้สติในผัสสะอย่าให้ผัสสะทำให้เกิดทุกข์ขึ้นมาได้ทีนี้มันก็ไม่มีก็มันมีอยากมันมีได้อยากดังนั้นเราจึงต้องฝึกสมาธิ ฝึกกรรมฐาน ฝึกวิปัสนาก็เลยมีสติมากเพียงพอ มีสมาธิมากเพียงพอเพื่อเราจะได้มีสติ ในขณะผัสสะปัญหาใหญ่มันมีอยู่ที่ว่ามันไม่มีสติในขณะผัสสะการปรุงแต่งของจิตก็ปรุงแต่งไปในทางที่เป็นทุกข์ทีนี้เราจะมีสติให้ทันให้พอในขณะผัสสะถ้าไม่ทันไม่พอเราก็ต้องพัฒนาคือทำให้มันมีขึ้นมานี่คือการฝึกเรียกว่าฝึกวิปัสนา ทำกรรมฐาน ทำสมาธิ ทำสมาถะอะไรแล้วแต่จะเรียกความมุ่งหมายแท้จริงจะได้มีสติเพียงพอเลวทันด้วยเพียงพอด้วยทันฟันด้วยในขณะแห่งผัสสะนั่นเองถ้าปล่อยงุ่มง่ามไปตามธรรมชาติของคนตามธรรมชาติมันก็ไม่ทันมันไม่มากพอและมันก็ไม่ทันพฤติในจิตก็เป็นไปในทางผิดเป็นทุกข์ขึ้นไปเป็นทุกข์ขึ้นๆไปเดี่ยวนี้จะเอาตัวรอดกันแล้วก็ต้องฝึกสติให้มากพอและเลวทันคนที่มันมาเป็นทุกข์ในขณะที่ผัสสะก็มีสติเสียสติก็กลายเป็นสัมปชัญญะควบคุมสตินั้นด้วยปัญญาอย่างถูกต้องว่าทำอย่างไรอย่างไรผัสสะนั้นก็ไม่เดินไปในทางที่จะเป็นทุกข์

หน้าที่ 7 – ฝึกสมาธิฝึกวิปัสนา
ก็ประกอบด้วยสติปัญญารู้ว่าอะไรเป็นอะไรจะต้องทำอย่างไรทำถูกต้องทั้งหมดไม่ทำผิดก็ไม่เป็นทุกข์นี่อานิสงฆ์ของการที่มีของการฝึกสมาธิฝึกวิปัสนามีความมุ่งหมายส่วนใหญ่อยู่ที่ตรงนี้คือตามธรรมชาติตามธรรมดาคนเราไม่มีสติต้องฝึกให้มีให้มากและให้เร็วรวบรวมปัญญารู้เรื่องอนิจจัง ทุกขัง อนัตตาเป็นความรู้ที่เพียงพอแล้วก็สติเอามาใช้จะพิจารณา เวทนาสัญญาพิจารณาเห็นเป็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตาได้ก็เลยไม่เกิดอุปาทานขันต์ขันต์ทั้งหลายก็เป็นขันต์ธรรมดาไม่เป็นอุปาทานขันต์แล้วก็ไม่เป็นทุกข์เนี่ยขอให้มองประโยชน์อันใหญ่ยิ่งของการฝึกจิตภาวนาเพื่อว่าเราจะได้มีสติเร็วทันในขณะผัสสะและเราจะมีเวลามากพอสำหรับพิจารณาผัสสะและเวทนาเป็นต้น

ซึ่งก็เลยต้องตรวจไม่ต้องมีความทุกข์ถ้าเป็นผู้คล่องแคล่วในการฝึกจิตอย่างนี้แล้ววันหนึ่งมันจะกระทบอารมณ์กี่ครั้ง กี่ 10 ครั้ง กี่ 100 ครั้งก็ไม่เกิดทุกข์เป็นไปตามที่มันจะเป็นจะต้องทำอะไรใหมจะต้องทำอย่างไรเกี่ยวกับเรื่องนี้ก็ทำถ้าไม่เกี่ยวกับจะต้องทำอะไรก็ปล่อยให้เลิกไป เลิกไปเองแปลว่ามีแต่สิ่งที่ทำที่ควรทำให้สำเร็จประโยชน์สิ่งที่ไม่ควรทำไปทำเข้าแล้วเป็นทุกข์ไม่ต้องมีมีไม่ได้ก็ได้นี่เรียกว่าจะเรียกว่าความรับที่สุดของธรรมชาติของมนุษย์ก็ได้เหมือนกัน ความรับที่สุดของมนุษย์จะเป็นทุกข์หรือไม่เป็นทุกข์มันมีอยู่อย่างนี้ถ้าเข้าใจกันให้ดีให้ถูกต้องแล้วมันก็ไม่เหลือนิสัยที่จะควบคุมจิตไปในทางที่ถูกต้องไม่มีความทุกข์เลยนี่คือจิตตภาวนาในพุทธศาสนามีความมุ่งหมายอย่างนี้เพื่อประโยชน์อย่างนี้เพื่อให้มนุษย์ไดรับอานิสงฆ์อย่างนี้จึงมีอยู่และก็สอนสืบๆกันมา จนกระทั่งทุกวันนี้ในวันนี้เรามาก็ได้พูดถึงสิ่งที่เรียกว่าส่วนประกอบและโครงสร้างของสิ่งที่เรียกว่าชีวิตสิ่งที่เรียกว่าชีวิตก็ที่เรียกสมมุติกันว่า คน คน คนสมมุติโดยใช้สิ่งที่มีชีวิตเป็นไปตามธรรมชาติส่วนประกอบของมันก็คือธาตุทั้ง 4อายันตนะทั้ง 6 ขันต์ทั้ง 5เหล่านั้นแหละเป็นส่วนประกอบนี้โครงสร้างที่บอกเกี่ยวเนื่องกันมาอย่างนี้เกี่ยวเนื่องโยงใยกันอย่างนี้มีการกระทำผิดก็ไม่มีสติก็เป็นทุกข์ที่สร้างขึ้มาเพื่อเป็นทุกข์ถ้าเผอิญมีสติมากและพอมันก็ไม่มีความทุกข์เป็นโครงที่สร้างขึ้นมาสำหรับไม่เป็นทุกข์ได้รับประโยชน์ในการที่จะมีชีวิตหวังว่าผู้ที่สนใจคงมองเห็นประโยชน์คงจะได้สนใจรู้จักมันตามที่เป็นจริงในเรื่องของส่วนประกอบและโครงสร้างของชีวิตดังที่กล่าวมานี้ ทุกๆประการควรจะไต่ถามหาความรู้ความเข้าใจให้ชัดเจนถ้ายังไม่เข้าใจส่วนใหนก็ศึกษาให้เข้าใจชัดเจนเข้าใจในโครงสร้างอันเป็นความรับที่สุดของธรรมชาตินี้ให้จงได้และจะไม่กระทำผิดอีกต่อไปกลายเป็นมนุษย์ที่มีความรู้เรื่องจิตตวิมุติ ปัญญาวิมุติเป็นลำดับไปไม่มีความทุกข์เลยเป็นเด็กอยู่ในท้องมารดาเกิดมาไม่มีความรู้เรื่องนี้เลยจิตตวิมุติ ปัญญาวิมุติก็ต้องไปทุกข์ก็เป็นไปอย่างทุกข์ทีนี้พอโตถึงเท่านี้ศึกษาได้แล้วก็ศึกษารู้แล้วก็จะเป็นไปในทางที่ไม่ทุกข์การบรรยายนี้สมควรแก่เวลาขอยุตติไว้แต่เพียงเท่านี้นี่คือเรียน ก ข กกาของพุทธศาสนาในเรื่องธาตุเรื่องอยันตนะเรื่องขันต์นี่คือเรียน ก ข กกา

http://www.vcharkarn.com/varticle/32335

. . . . . . .