(การ์ดคำสอน) หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต – จะเป็นจะตายก็มอบไว้กับความเพียร

(การ์ดคำสอน) หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต – จะเป็นจะตายก็มอบไว้กับความเพียร

25570309-223356.jpg
อ่านเพิ่มเติม

โอวาทธรรมหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต

โอวาทธรรมหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต

ที่ให้ครั้งสุดท้ายกับชาวหนองผือนาใน

“เมือเสียเด้อ…เหมิดท่อนี้ล่ะเน้อ…
เอาน้ำไปฮดไม้แก่นหล่อน ให้มันป่งเป็นใบ บ่มีดอกเด้อ…
ให้พากันเฮ็ด พากันทำ
ตามที่อาตมาเคยพาเฮ็ดพาทำนั่นเด้อ อย่าลืมเด้อ…
ให้พากันรักษาศีลห้า ถ้าผู้ใดรักษาศีลห้าได้ตลอดชีวิต
ผู้นั้นเลิศที่สุด เหมิดท่อนี้ล่ะ”

ขอบคุณข้อมูลจาก : http://xn--72c8ae4acia4czfxe.com/board/index.php?topic=1321.0

ประวัติหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต

ประวัติหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต

๑ ชาติกำเนิดและการอุปสมบท

ท่าน กำเนิดในสกุลแก่นแก้ว บิดาชื่อคำด้วง มารดาชื่อจันทร์ เพีย ( พระยา ) แก่นท้าวเป็นปู่ นับถือพุทธศาสนา เกิดวันพฤหัสบดีเดือนยี่ ปีมะแม ตรงกับวันที่ ๒๐ เดือนมกราคมพ.ศ.๒๔๑๓ ณ บ้านคำบง ตำบลโขงเจียม อำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี ( ปัจจุบันคือ บ้านคำบง ต.สงยาง อ.ศรีเมืองใหม่ จ.อุบลราชธานี ) มีพี่น้องร่วมท้องเดียวกัน ๗ คน ท่านเป็นบุตรคนหัวปีท่านเป็นคนร่างเล็ก ผิวขาวแดงแข็งแรงว่องไวสติปัญญาดีมาตั้งแต่กำเนิดฉลาดดี
เป็นผู้ว่าง่ายสอนง่ายได้เรียนอักขรสมัยในสำนักของอา คือเรียนอักษรไทยน้อย อักษรไทย อักษรธรรมและอักษรขอมอ่านออกเขียนได้นับว่าท่านเรียนได้รวด เร็ว เพราะมีความทรงจำดี และมีความขยันหมั่นเพียรชอบการเล่าเรียนศึกษา อ่านเพิ่มเติม

กฎระเบียบวัด พระธุดงค์กรรมฐาน (พระป่า)

วัดพุทธรังษี

กฎระเบียบวัด พระธุดงค์กรรมฐาน (พระป่า)

พระธุดงค์กรรมฐาน หรือ พระป่า

หมายถึงพระภิกษุ ฝ่ายที่มุ่งศึกษาธรรม โดยการกระทำ หรือลงมือปฏิบัติ และพำนักอยู่ ตามป่าเขาที่สงบ สงัด สะดวกต่อการปฏิบัติ จึงเรียกว่า ” พระฝ่ายอรัญวาสี พระธุดงค์กรรมฐาน ” หรือพระป่านั้นเองโดยมี* พระอาจารย์มั่น ภูริทัตโต *เป็นต้น ซึ่งเป็นบุพพาจารย์ใหญ่ผู้นำกองทัพธรรมพระธุดงค์กรรมฐานทั้งฝ่ายธรรมยุติและฝ่ายมหานิกายตลอดมาจนถึงปัจจุบันนี้ “พระธุดงค์ในไทยแบ่งออกเป็นสายใหญ่ ๆ” ได้ ๒ สายคือ
อ่านเพิ่มเติม

เสือเทพนิรมิต (หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต)

เสือเทพนิรมิต (หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต)

หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต

พระที่ท่านชอบอยู่ป่าอยู่เขาอยู่ถ้ำและเงื้อมผา รู้สึกมีเรื่องสะดุดใจให้ท่านผู้อ่านได้คิดอยู่มากกว่าที่พักอยู่ในที่ธรรมดา ดังท่านอาจารย์องค์ที่กำลังนำลงอยู่เวลานี้ แม้จะถวายนามท่านว่า “นักเผชิญ” ก็ไม่น่าจะผิดและเสียความเคารพ เพราะการเผชิญก็เพื่อบุกเบิกหาธรรมของจริง การถวายนามก็อนุวัติไปตามปฏิปทาของท่านที่หนักไปในทางเป็นนักต่อสู้หรือเผชิญ โดยไม่ลดละล่าถอยให้เหตุการณ์นั้นๆ หัวเราะเยาะได้ การเป็นนักต่อสู้ในขณะที่กำลังเผชิญกับเหตุการณ์นี้ ท่านยังจะได้อ่านเรื่องของท่านไปเรื่อยๆ จนกว่าจะยุติ นี่ก็กำลังนำท่านผู้อ่านชมเหตุการณ์ที่ท่านเผชิญมา
อ่านเพิ่มเติม

หลวงปู่แหวน สุจิณฺโณ

หลวงปู่แหวน สุจิณฺโณ

พระแหวน สุจิณโณ
(แหวน สุจิณโณ)
หลวงปู่แหวน

เกิด 16 มกราคม พ.ศ. 2430
บรรพชา พ.ศ. 2439
อุปสมบท พ.ศ. 2450
มรณภาพ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2528
พรรษา 78
อายุ 98
วัด วัดดอยแม่ปั๋ง
จังหวัด จังหวัดเชียงใหม่
สังกัด ธรรมยุติกนิกาย
หลวงปู่แหวน สุจิณโณ[1] (16 มกราคม พ.ศ. 2430 — 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2528) เป็นภิกษุชาวไทย จำพรรษา ณ วัดดอยแม่ปั๋ง จังหวัดเชียงใหม่

ประวัติ[แก้]

หลวงปู่แหวน สุจิณโณ เกิดในตระกูลของช่างตีเหล็ก เมื่อวันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2430 ตรงกับวันจันทร์ ขึ้น 3 ค่ำ เดือนยี่ ปีกุน ณ บ้านนาโป่ง ตำบลหนองใน(ปัจจุบันเป็นตำบลนาโป่ง) อำเภอเมือง จังหวัดเลย โดยเป็นบุตรของนายใสกับนางแก้ว รามสิริ โดยมีน้องสาวร่วมบิดา- มารดาอีกหนึ่งคนคือ นางเบ็ง ราชอักษร และบิดามารดาของท่านได้ ตั้งชื่อว่า ญาณ ซึ่งแปลว่า ปรีชา กำหนดรู้

อ่านเพิ่มเติม

“โรคกรรมเก่า” : หลวงปู่มั่น

“โรคกรรมเก่า” : หลวงปู่มั่น

มาถึงตอนนี้มีเรื่องแปลก ๆ ที่ไม่น่าจะมีได้ แต่ก็ได้มีแทรกขึ้นในวงกรรมฐานมาแล้วสมัย ท่านพักอยู่ในเขาที่เชียงใหม่ จึงขออภัยเขียนไว้บ้างตามที่ได้ยินมา เพื่อเป็นข้อคิดและ เป็นคติเตือนใจแก่ชาวเราต่างก็กำลังตกอยู่ในภาวะทำนองเดียวกัน

เรื่องนี้คิดว่า เป็นเรื่องกรรมกันโดยมาก บรรดาที่ได้ทราบกันในวงใกล้ชิดมี
ท่านพระอาจารย์มั่น เป็นต้น ผู้ให้ข้อวิพากษ์วิจารณ์ เรื่องนี้พอได้เป็นข้อคิดตลอดมา

พระอาจารย์รูปหนึ่งซึ่งเคยอยู่กับท่านอาจารย์มั่นเล่าให้ฟังว่า บ่าย ๆ วันหนึ่งท่านกับพระอีกรูปหนึ่งไปอาบน้ำที่แอ่งหิน ใกล้กับหนทางไปไร่ไปสวนของชาวบ้านแถบนั้น แต่อยู่ห่างไกลจากหมู่บ้านมาก

อ่านเพิ่มเติม

ร่วมสร้างรูปเหมือนหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต องค์ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย

ครั้งหนึ่งในชีวิต เพื่อเป็นที่สุดในโลก ด้วยการร่วมสร้างรูปเหมือนหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต องค์ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย

เชิญร่วมพิธีอัญเชิญ “ธรรมธาตุบารมี”หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต สู่รูปเหมือนหลวงปู่มั่น องค์ใหญ่ที่สุดในโลก
ณ พิพิธภัณฑ์อาคารเผยแพร่พระอริยะ บ้านโพนทอง ต.โพนทอง อ.สีดา จ.นครราชสีมา (ริมถนนมิตรภาพ)
ในวันเสาร์ที่ ๕ เมษายน พ.ศ.๒๕๕๗

ขอเชิญนมัสการ หลวงพ่อสายทอง เตชะธัมโม “พระอริยะเจ้าพระผู้มีบารมีใหญ่”ที่หลวงตามหาบัว ญาณสัมปัณโน,หลวงปู่ศรี มหาวีโร,หลวงปู่หล้า เขมปัตโต กล่าวถึงและให้การรับรองในคุณธรรม โดยในครั้งนี้ท่านหลวงพ่อสายทอง เตชะธัมโม ประธานริเริ่มให้ดำเนินการสร้างรูปเหมือนหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต องค์ใหญ่ที่สุดในโลก ได้มีเมตตาเดินทางมาเป็นเจ้าภาพผ้าป่าเพื่อสมทบทุนสร้างพิพิธภัณฑ์เผยแพร่พระอริยะและรูปเหมือนพระอริยะสงฆ์ ร่วม ๑๐๐ องค์ ด้วยตัวท่านเอง

อ่านเพิ่มเติม

ธรรมบรรยาย สวัสดีปีใหม่ เป็นธรรมะที่บรรยายโดยพระเทพสิงหบุราจารย์ (หลวงพ่อจรัญ ฐิตธมฺโม)

ธรรมบรรยาย สวัสดีปีใหม่

เป็นธรรมะที่บรรยายโดยพระเทพสิงหบุราจารย์ (หลวงพ่อจรัญ ฐิตธมฺโม) ในโอกาสต่างๆ ที่ผ่านมาในอดีต

ญาติโยมทั้งหลาย วันนี้ถือว่าเป็นวันชีวิตมิ่งขวัญมงคลต่อท่านผู้มีกุศล ที่เรามากันในวันนี้คือจะมาบำเพ็ญกุศลชีวิต ระลึกเหตุการณ์ชีวิตที่ผ่านมาในปีซึ่งจะสิ้นสุดลงในอีกไม่กี่ชั่วโมงนี้ จะเปลี่ยนวาระเข้าไปสู่ภาวะของ พ.ศ. ใหม่ คือวันที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๐ วันเวลาก็ล่วงเลยไปเร็วมาก ไม่จำต้องกล่าวว่าเฉพาะเวลาเร็ว ชีวิตก็เร็ว รู้สึกว่ามันเร็วเหลือเกิน เร็วเช่นนี้แล้วจิตใจเราก็สับสน มีเรื่องนั้นเรื่องนี้เข้ามาแทรกแซงอยู่ในจิตใจ เดี๋ยวก็ดีเดี๋ยวก็ชั่ว ท่านทั้งหลายเราพิจารณาตัวเองกันในวันนี้ คิดบัญชีชีวิตว่าตั้งแต่ต้นปีเรื่อยมาเราขาดทุนชีวิตอะไรบ้าง เราทำธุรกิจการค้าขาดทุนตรงไหน หาเหตุในการขาดทุนให้จงได้ ไม่ใช่ว่าสวัสดีปีใหม่ก็ขอให้ข้าพเจ้ารวย ให้สวย ให้ดีให้มีปัญญา มาที่วัดนี่ก็เจริญพรให้ข้อคิด สรุปหนึ่งปีมามีหลายเรื่องทำให้อาตมาได้ตำราที่วัดไม่ต้องไปเข้าโรงเรียนไหนเลย ครูมาสอนทุกวัน อาตมาก็เป็นนักเรียนแต่ให้ค่าเทอมครูด้วยการเลี้ยงข้าว วันนี้ครูมาเยอะ เดี๋ยวเลี้ยงหอยทอด

อ่านเพิ่มเติม

พุทธทาสในบริบทของสังคมไทย / ทวีวัฒน์ ปุณฑริกวิวัฒน์

พุทธทาสในบริบทของสังคมไทย / ทวีวัฒน์ ปุณฑริกวิวัฒน์

เกริ่นนำ

พุทธศาสนากับรัฐของไทย

พุทธศาสนาของไทย :ทรรศนะทางสังคมการเมือง

๑. พุทธศาสนาของชนชั้นปกครอง
๒. พุทธศาสนาฝ่ายปฏิรูป
๓. ไสยศาสตร์ของไทย
ก) ไสยศาสตร์แห่งอภิปรัชญา
ข) ไสยศาสตร์แห่งความศักดิ์สิทธิ์และการทำนายทายทัก
ค) ไสยศาสตร์แห่งการทรงเจ้าเข้าผีและคุณไสย
ความเคลื่อนไหวของพุทธศาสนาฝ่ายปฏิรูป

พุทธทาสภิกขุ : นักปฏิรูปพุทธศาสนาของไทย

พุทธทาสภิกขุกับสำนักพุทธศาสนาของไทย

๑. สำนักแห่ง “ศีล” สันติอโศก
๒. สำนักแห่ง “สมาธิ” : พุทโธ, ยุบหนอ-พองหนอ, ธรรมกาย, และการเจริญสติแบบเคลื่อนไหว
ก) “พุทโธ”
ข) “ยุบหนอ – พองหนอ”
ค) ธรรมกาย
ง) การเจริญสติแบบเคลื่อนไหว อ่านเพิ่มเติม

การศึกษา (สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก)

การศึกษา (สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก)

ในปีแรกที่เข้ามาอยู่วัดบวรนิเวศวิหาร เจ้าพระคุณสมเด็จ ฯ ก็ทรงสอบได้นักธรรมชั้นตรี พ.ศ.๒๔๗๓ ทรงสอบได้นักธรรมชั้นโท และเปรียญธรรม ๓ ประโยค พระองค์ทรงบันทึก เกี่ยวกับความรู้สึก เมื่อทรงสอบเปรียญธรรม ๓ ประโยคได้ว่า “ไม่มีปีใดที่ให้ความสุขกาย สุขใจมากเท่ากับคราวที่สอบ ป.ธ.๓ ได้”

พ.ศ.๒๔๗๔ ทรงตั้งใจเรียนประโยค ๔ ด้วยความมุ่งหวังอย่างสูง พร้อมทั้งทรงเตรียมประโยคเก็ง หรือว่าเก็งข้อสอบที่คาดว่าน่าจะออกไว้ด้วยความมั่นใจ เมื่อถึงคราวสอบกลับปรากฏว่า ข้อสอบไม่ได้ออกประโยคเก็งหรือประโยคยาก ๆ ที่ทรงเตรียมไว้ แต่กลับออกประโยคง่าย ๆ ที่ไม่ได้สนใจเตรียม แต่ก็ทรงรู้สึกว่าข้อสอบง่ยมาก ทำไปด้วยความมั่นพระทัยแต่ผลสอบปรากฏว่า พระองค์สอบตกประโยค ๔ ได้ทรงบันทึกถึงความรู้สึกเมื่อทรงสอบตก คราวนั้นไว้ว่า ทรงรู้สึกเสียใจและท้อแท้ใจมาก ถึงกับทรงคิดว่า พระองค์คงจะหมดวาสนาในทางพระศาสนาเสียแล้ว เพราะมานะพยายามและตั้งใจขนาดนี้ยังสอบตก แต่หลังจากทรงคิดทบทวนและไตร่ตรองดูว่าทำไม พระองค์จึงสอบตก ก็ทรงได้พบความจริงด้วยพระองค์เองว่า การสอบตกนั้นเป็นผลของความประมาทโดยแท้ กล่าวคือ
อ่านเพิ่มเติม

การศึกษา (สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก)

การศึกษา (สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก)

ในปีแรกที่เข้ามาอยู่วัดบวรนิเวศวิหาร เจ้าพระคุณสมเด็จ ฯ ก็ทรงสอบได้นักธรรมชั้นตรี พ.ศ.๒๔๗๓ ทรงสอบได้นักธรรมชั้นโท และเปรียญธรรม ๓ ประโยค พระองค์ทรงบันทึก เกี่ยวกับความรู้สึก เมื่อทรงสอบเปรียญธรรม ๓ ประโยคได้ว่า “ไม่มีปีใดที่ให้ความสุขกาย สุขใจมากเท่ากับคราวที่สอบ ป.ธ.๓ ได้”

พ.ศ.๒๔๗๔ ทรงตั้งใจเรียนประโยค ๔ ด้วยความมุ่งหวังอย่างสูง พร้อมทั้งทรงเตรียมประโยคเก็ง หรือว่าเก็งข้อสอบที่คาดว่าน่าจะออกไว้ด้วยความมั่นใจ เมื่อถึงคราวสอบกลับปรากฏว่า ข้อสอบไม่ได้ออกประโยคเก็งหรือประโยคยาก ๆ ที่ทรงเตรียมไว้ แต่กลับออกประโยคง่าย ๆ ที่ไม่ได้สนใจเตรียม แต่ก็ทรงรู้สึกว่าข้อสอบง่ยมาก ทำไปด้วยความมั่นพระทัยแต่ผลสอบปรากฏว่า พระองค์สอบตกประโยค ๔ ได้ทรงบันทึกถึงความรู้สึกเมื่อทรงสอบตก คราวนั้นไว้ว่า ทรงรู้สึกเสียใจและท้อแท้ใจมาก ถึงกับทรงคิดว่า พระองค์คงจะหมดวาสนาในทางพระศาสนาเสียแล้ว เพราะมานะพยายามและตั้งใจขนาดนี้ยังสอบตก แต่หลังจากทรงคิดทบทวนและไตร่ตรองดูว่าทำไม พระองค์จึงสอบตก ก็ทรงได้พบความจริงด้วยพระองค์เองว่า การสอบตกนั้นเป็นผลของความประมาทโดยแท้ กล่าวคือ
อ่านเพิ่มเติม

ถวายตัวเป็นศิษย์หลวงปู่เสาร์ กนฺตสีโล(ครูบาวัง)

ถวายตัวเป็นศิษย์หลวงปู่เสาร์ กนฺตสีโล(ครูบาวัง)

ต่อมาพระอาจารย์ทองสา ซึ่งเป็นพระอาจารย์ที่พาท่านเดินธุดงค์กัมมัฏฐานมาด้วยกันหลายปี กลับมาลาสิกขาไปจากท่าน เหลือแต่ท่าน เพียงผู้เดียว จึงเป็นโอกาสให้เป็นอิสระที่จะเดินกัมมัฏฐานตามใจชอบ ท่านจึงได้แสวงหาครูบาอาจารย์ที่เป็นที่เคารพนับถือในสมัยนั้น เมื่อมีโอกาสอันเหมาะ ท่านได้เข้าไปกราบหลวงปู่เสาร์ กนฺตสีโล กราบขอเป็นศิษย์ท่าน หลวงปู่เสาร์ก็รับเป็นศิษย์ แล้วก็ได้รับการอบรมจากท่านเป็นอย่างดี

ปรารถนาพุทธภูมิ
เมื่อท่านได้รับการอบรมแล้วก็เร่งบำเพ็ญสมาธิภาวนาให้ยิ่งขึ้นอย่างแรงกล้า และได้เกิดความรู้สึกปรารถนาเป็นพระพุทธเจ้าองค์หนึ่งในภายหน้า หรือเรียกปรารถนาพุทธภูมินั้นเอง ท่านจึงได้เข้ากราบเรียนเรื่องนี้ให้หลวงปู่เสาร์ทราบหลวงปู่เสาร์ได้ชี้แจงว่าการปรารถนาพุทธภูมินี้ กว่าจะเป็นพระพุทธเจ้าได้ต้องใช้เวลาสร้างบารมีมาหลายกัป หลายภพหลายชาติ เนิ่นนานมากท่านได้แนะนำให้เลิกการปรารถนานี้เสีย แต่ พระอาจารย์วังก็ได้กราบเรียนท่านหลวงปู่ว่ามีความมุ่งมั่นรักในพุทธภูมินี้มาก แม้จะมีผู้มีอำนาจมาบังคับว่าถ้าไม่ยอมถอนจากความปรารถนานี้ จะฆ่าให้ตาย ก็ไม่ยอมถอน แม้จะฆ่าให้ตายก็ยอม เมื่อเป็นอย่างนั้นท่านหลวงปู่เสาร์ก็พลอยอนุโมทนาด้วย และบอกว่าขอให้ตั้งใจต่อไป ในเวลาต่อมา ท่านได้เล่าให้ผู้เขียนฟังว่าเมื่อการภาวนาของท่านก้าวหน้าไปจนชำนาญทางด้านสมถกัมมัฏฐานแล้ว เมื่อยกจิตพิจารณาวิปัสสนากัมมัฏฐานมากขึ้นจิตจะสะดุด แล้วประหวัดถึงความปรารถนาภูมิทันที ไม่สามารถไปต่อได้มากกว่านั้น แต่ท่านก็ยังคงมุ่งมั่นในพุทธภูมินี้เรื่อยไป

ข้อมูลอ้างอิงจาก : dharma-gateway.com

http://www.web-pra.com/

วิธีเจริญจิตภาวนา (ตามวิธีหลวงปู่ดูลย์ อตุโล)

วิธีเจริญจิตภาวนา (ตามวิธีหลวงปู่ดูลย์ อตุโล)

พระราชวุฒาจารย์ (หลวงปู่ดูลย์ อตุโล)
วัดบูรพาราม อ.เมือง จ.สุรินทร์

1. เริ่มต้นอิริยาบถที่สบาย
ยืน เดิน นั่ง นอน ได้ตามสะดวก ทำความรู้ตัวเต็มที่ และ รู้อยู่กับที่ โดยไม่ต้องรู้อะไร หรือ รู้ “ตัว” อย่างเดียว รักษาจิตเช่นนี้ไว้เรื่อย ๆ ให้ “รู้อยู่เฉย ๆ ” ไม่ต้องไปจำแนกแยกแยะ อย่าบังคับ อย่าพยายาม อย่าปล่อยล่องลอยตามยถากรรม เมื่อรักษาได้สักครู่ จิตจะคิดแส่ไปในอารมณ์ต่าง ๆ โดยไม่มีทางรู้ทันก่อน เป็นตามธรรมดาสำหรับผู้ฝึกใหม่ ต่อเมื่อจิตแล่นไป คิดไปในอารมณ์นั้น ๆ จนอิ่มแล้ว ก็จะรู้สึกตัวขึ้นมาเอง เมื่อรู้สึกตัวแล้วให้พิจารณาเปรียบเทียบสภาวะของตนเอง ระหว่างที่มีความรู้อยู่กับที่ และระหว่างที่จิตคิดไปในอารมณ์ว่ามีความแตกต่างกันอย่างไร เพื่อเป็นอุบายสอนจิตให้จดจำ จากนั้น ค่อย ๆ รักษาจิตให้อยู่ในสภาวะรู้อยู่กับที่ต่อไป ครั้นพลั้งเผลอ รักษาไม่ดีพอ จิตก็จะแล่นไปเสวยอารมณ์ข้างนอกอีก จนอิ่มแล้ว ก็จะกลับรู้ตัว รู้ตัวแล้วก็พิจารณา และรักษาจิตต่อไป ด้วยอุบายอย่างนี้ ไม่นานนัก ก็จะสามารถควบคุมจิตได้ และบรรลุสมาธิในที่สุด และจะเป็นผู้ฉลาดใน “พฤติแห่งจิต” โดยไม่ต้องไปปรึกษาหารือใคร

ข้อห้าม ในเวลาจิตฟุ้งเต็มที่ อย่าทำ เพราะไม่มีประโยชน์ และยังทำให้บั่นทอนพลังความเพียร ไม่มีกำลังใจในการเจริญจิตครั้งต่อ ๆ ไป

อ่านเพิ่มเติม

ประวัติหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต พระอาจารย์ใหญ่ฝ่ายพระกัมมัฏฐาน

ประวัติหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต พระอาจารย์ใหญ่ฝ่ายพระกัมมัฏฐาน

25570309-150224.jpg
อ่านเพิ่มเติม

ประวัติหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต

ประวัติหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต

หลวงปู่มั่น กำเนิดในวันวันที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2413 ณ บ้านคำบง ต.โขงเจียม อ.โขงเจียม จ.อุบลราชธานี ชื่อเดิมคือ “มั่น แก่นแก้ว” มีพี่น้อง 9 คน ท่านเป็นบุตรคนแรก ท่านเป็นคนรูปร่างเล็ก แข็งแรงว่องไว สติปัญญาดี มาแต่กำเนิด เมื่อท่าน อายุได้ 15 ปี ท่านได้บรรพชาเป็นสามเณรในสำนักบ้านคำบง เมื่อท่านอายุได้ 17 ปี บิดาขอร้องให้ท่านลาสิกขาเพื่อช่วยงานทางบ้าน เมื่อลาสิกขาไปแล้วท่านได้ช่วยงานทางบ้านอย่างเต็มกำลัง และยังคิดที่จะบวชอีกอยู่เสมอ จนกระทั้งเมื่อท่านอายุ 22 ปี จึงได้ขอบิดามารดาบวช ท่านทั้งสองก็อนุญาติตามความประสงค์ โดยก่อนบวชท่านได้ศึกษาใน วัดเลียบสำนักของพระอาจารย์เสาร์ กันตสีลเถระ
อ่านเพิ่มเติม

พระธรรมหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต

พระธรรมหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต

พระธรรมเทศนาโดย…หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต

ลักษณะจิตที่หลุดพ้นนั้นมีลักษณะการหลุดพ้นต่างกัน จำแนกออกได้ 5 ประเภทคือ

๑. ตทงฺควิมุตฺติ คือ ความหลุดพ้นเป็นบางขณะ ได้แก่ ความหลุดพ้นที่เกิดจากความสงบของจิตในบางคราว หรืออาจเกิดจากการเจริญวิปัสสนาแล้วเห็นทุกข์ ทำให้จิตละสังขารเพียงบางครั้งบางคราว แต่ไม่เกิดปัญญา ไม่เกิดมรรค ที่จะทำลายกิเลสให้สิ้นไปได้ เพียงแต่ละได้ในบางครั้งบางคราวเป็นขณะ ๆ เท่านั้น

๒. วิกฺขมฺภนวิมุตฺติ จิตหลุดพ้นโดยการใช้สมาธิกดข่มจิตไว้ คือ การเข้าฌาณสมาบัติ ระงับจิตจากกิเลสชั่วคราว จัดเป็นโลกียวิมุติ เมื่อออกจากฌานสมาบัติ กิเลสก็เข้าเกาะกุมจิตได้อีก เป็นความหลุดพ้นที่ไม่เด็ดขาด เพราะมรรคไม่ประหารนั่นเอง
อ่านเพิ่มเติม

ประวัติหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต

ประวัติหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต

สวัสดีสมาชิกทุกท่าน วันนี้ อยากพาเพื่อนสมาชิกไปเที่ยววัด ๆ หนึ่งที่สวยงามและศักดิ์สิทธิ์ อยู่ที่จังหวัดสกลนคร คือวัดของหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต

เนื่องจากเมื่อวันที่ 1-2 ก.ค. 53 ได้มีโอกาสเดินทางไปศึกษาดูงานที่จังหวัดสกลนครและนครพนม ในฐานะกรรมการศูนย์ฯ และได้ยินกิตติศัพท์ว่าพระอาจารย์หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ศักดิ์สิทธิ์มาก เลยตั้งใจไปกราบนมัสการให้ได้และได้บูชาวัตถุมงคลมาเพิ่มความเป็นสิริมงคลในชีวิตด้วย

เรามาเรียนรู้ประวัติของพระอาจารย์มั่น ก่อนดีไหมคะ เริ่มเลยนะ มีผู้รู้เขียนไว้ ขออนุญาตนำเสนอนะคะ

ประวัติหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต วัดป่าสุทธาวาส อ.เมือง ฯ จ.สกลนคร

ชาติกำเนิดและชีวิตปฐมวัย
ท่านกำเนิดในสกุลแก่นแก้ว บิดาชื่อคำด้วง มารดาชื่อ จันทร์ เพียแก่นท้าว เป็นปู่ นับถือพุทธศาสนา เกิดวันพฤหัสบดี เดือนยี่ ปีมะแม ตรงกับวันที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2413 ณ บ้านคำบง ตำบลโขงเจียม อำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี มีพี่น้องร่วมท้องเดียวกัน ๗ คน ท่านเป็นบุตรคนหัวปี ท่านเป็นคนร่างเล็ก ผิวดำแดง แข็งแรงว่องไว สติปัญญาดี มาแต่กำเนิด ฉลาด เป็นผู้ว่านอนสอนง่าย ได้เรียนอักษรสมัยในสำนักของอา คือ เรียนอักษรไทยน้อย อักษรไทย อักษรธรรม และอักษรขอม อ่านออกเขียนได้ นับว่าท่านเรียนได้รวดเร็ว เพราะมีความทรงจำดี และขยันหมั่นเพียร ชอบการเล่าเรียน ชีวิตสมณะ อ่านเพิ่มเติม

(การ์ดคำสอน) หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต – จะเป็นจะตายก็มอบไว้กับความเพียร

(การ์ดคำสอน) หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต – จะเป็นจะตายก็มอบไว้กับความเพียร

25570309-141338.jpg
อ่านเพิ่มเติม

ธรรมคำสอนหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต -บันทึกโดยหลวงปู่หลุย จันทสโร

25570309-135900.jpg
อ่านเพิ่มเติม

. . . . . . .