ทางแห่งความไม่ประมาท โดย ท่านพุทธทาส

ทางแห่งความไม่ประมาท โดย ท่านพุทธทาส

หน้าที่ 1 – วิปัสสนาธรรมเทศนา
ทางแห่งความไม่ประมาท
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ

ณ บัดนี้จะได้วิปัสสนาธรรมเทศนาของพระผู้มีพระภาคเจ้า เพื่อเครื่องดับสติปัญญา ส่งเสริมศรัทธาความเชื่อ และวิริยะ ความพากเพียรของท่านทั้งหลาย และผู้เป็นพุทธบริษัท ให้เจริญงอกงามก้าวหน้าตามทางแห่งพระศาสนา ของสมเด็จพระบรมศาสดา นั่นเป็นที่พึ่งของสัตว์ทั้งหลาย กว่าจะยุติลงด้วยเวลา ธรรมเทศนาเนื่องในวันที่เข้าพรรษา เป็นไปเพื่อให้เกิดความไม่ประมาท ดังที่ท่านทั้งหลายเคยทราบกันอยู่ดีแล้ว ความประมาทนั้นท่านพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า เป็นทางแห่งความตาย บุคคลผู้ประมาทแล้ว
อ่านเพิ่มเติม

ไตรโลกุตตรธรรม: มรรค ผล นิพพาน โดย ท่านพุทธทาส

ไตรโลกุตตรธรรม: มรรค ผล นิพพาน โดย ท่านพุทธทาส

หน้าที่ 1 – ธรรมเทศนา
นโมตัสสะ ภัควัตโต อรหโต สัมมาสัมพุทธทัสะ นโมตัสสะ ภัควัตโต อรหโต สัมมาสัมพุทธทัสะ นโมตัสสะ ภัควัตโต อรหโต สัมมาสัมพุทธทัสะ โยสัมโมโยนะโคธิมูเล มาลังคะเสนังธิจิตัง ปุญเสญะ สังโฆอนันตติยาโน โลกุลสโม ตังตุยามา พุทธังติธัมโม จะสัจจังโธติ

ณ บัดนี้ อัตมาภาพจะได้วิปัสณาประจำวันเทศนาเพื่อเป็นเครื่องประดับสติปัญญา เสริมสัทธา ความเชื่อและอิริยะความพากเพียรของท่านทั้งหลายไที่เป็นพุทธบริษัทให้เจริญงอกงามก้าวหน้าตามทางแห่งศาสนาของสมเด็จพระบรมศาสดา

อันเป็นที่พึ่งของสัตว์ทั้งหลายว่าได้ยุติลงด้วยเวลาธรรมเทศนานี้เป็นธรรมเทศนาพิเศษ ปรากฏเหตุตามเป็นที่จำพรรษา และวันนี้เป็นวันแรกของการเข้าพรรษา พุทธบริษัทก็ถือว่าเป็นอภิรักษ์จิตสมัย คือ เวลาที่จะต้องกำหนดไว้เป็นพิเศษว่าจะต้องกระทำอะไรกันบ้างและก็ร่วมมือกันทำในสิ่งที่จะต้องร่วมมือกันทำ และก็ทำให้ดีอย่างสุดความสามารถของตน ในส่วนที่เป็นประโยชน์ทั้งส่วนของตนเฉพาะคน
อ่านเพิ่มเติม

อนิจจลักษณ์-ทุกขลักษณ์ โดย ท่านพุทธทาส

อนิจจลักษณ์-ทุกขลักษณ์ โดย ท่านพุทธทาส

หน้าที่ 1 – สังขาร
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
สัมเพ สังขารา อนิจจา
สัมเพ สังขารา ทุกขา
สัมเพ ธัมมา อะนัตตา
ติยะทา ปัญญายะ ปัสสะติ
อะถะ นิพพินทะติทุกเข
เอสะ มัคโค วิสุทธิยาติ
ธัมโม สัจจะจัง เต ชะ โนติ

ณ บัดนี้ จะได้วิปัสสนาพระธรรมเทศนาของพระผู้มีพระภาคเจ้า เพื่อเป็นเครื่องประดับสติปัญญา ส่งเสริมศรัทธาความเชื่อ วิริยะความพากเพียรของท่านทั้งหลายที่เป็นพุทธบริษัท ให้เจริญงอกงามก้าวหน้า

ตามทางแห่งพระพุทธศาสนาของพระบรมพระศาสดาอันเป็นที่พึ่งของสัตว์ทั้งหลาย กว่าจะยุติลงด้วยเวลา ธรรมเทศนาในวันนี้เป็นไปตามธรรมดาของระเบียบประเพณีแห่งการเข้าพรรษาในครั้งแรกของพรรษานี้ได้แสดงเรื่อง พระรัตน 3 ทั้งต่อมาได้แสดงเรื่อง ศึกษา 3 ครั้งต่อมาอีกได้แสดงเรื่อง โลกุตระธรรม 3 ส่วนในวันนี้จะได้แสดงติดต่อกันไปโดยลำดับ เรื่อง สามัญลักษณะ 3 คือเรื่องอนิจจัง สุขขัง อนัตตา ในนี้จะพูดถึงสามัญลักษณะ 3 ประการ ที่เป็นเรื่องของ สติปัญญา ความละเอียดสุขุม มองสิ่งต่างๆ ได้ดี เมื่อมีสติสัมปชัญะอยู่ แล้วก็จะรับรองว่าไฟจะเกิดขึ้นไม่ได้ สามัญลักษณะ แปลว่าลักษณะที่เป็นสามัญคือทั่วไปแก่สิ่งทั้งปวงโดยเฉพาะประเภทที่เรียกว่าสังขาร ลักษณะ 3 อย่างนี้ คือทั่วๆไปแก่สังขารทั้งปวง
อ่านเพิ่มเติม

ไตรภพ: กามภพ- รูปภพ-อรูปภพ โดย ท่านพุทธทาส

ไตรภพ: กามภพ- รูปภพ-อรูปภพ โดย ท่านพุทธทาส

หน้าที่ 1 – ธรรมเทศนา

นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระโต สัมมา สัมพุทธะสะ นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระโต สัมมา สัมพุทธะสะ นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระโต สัมมา สัมพุทธะสะ ตะโยภะวา สหะมะธะโว รูปธะโว อรูปธะโว ติธัมโม ตะขะจังสโคะโตติ

ณ บัดนี้จะได้วิปัสณาพระธรรมเทศนาเป็นเครื่องประดับสติปัญญาเป็นเครื่องศรัทธาความพากเพียนขอ่านทั้งหลายทั้งหลายผู้เป็นพุทธบริษัทให้เจริญงอกงามก้าวหน้าตามทางแห่งพระศาสนาของสมเด็จบรมศาสดาอันเป็นที่พึ่งของสัตว์ทั้งหลายว่าจะยุติลงด้วยเวลา ธรรมะเทศนาในวันนี้เป็นธรรมเทศนา วันธรรมสวณะในพรรษาตามปกติ

ตามที่นิยมกันทั่วไปในหมู่พุทธบริษัท และธรรมเทศนาในวันนี้เป็นธรรมเทศนาติดต่อกันมาตามลำดับจากวันเทศนาในวันก่อน ๆ ในวันธรรมสวณะก่อน ๆ อาตมามีความตั้งใจว่าจะได้พูดวิปัสสนากันถึงเรื่อง ที่มีชื่อว่า 3 ว่าไตร หรือ 3 ทุก ๆเรื่อง ให้เพียงพอกันเสียสักเพราหนึ่ง

ดังที่ได้วิปัสสนามาแล้วในเรื่องไตรลักษณ์ ไตรสิกขา ไตรโลกุตระธรรม ไตรลักษณ์ ไตรวัต เป็นต้น
อ่านเพิ่มเติม

อาหารของอวิชชาและวิมุติ โดย ท่านพุทธทาส

อาหารของอวิชชาและวิมุติ โดย ท่านพุทธทาส

หน้าที่ 1 – สมเด็จพระบรมพระศาสดา
อาหารของอวิชชาและวิมุติ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
สัมเพ สังขารา อนิจจา
สัมเพ สังขารา ทุกขา
สัมเพ ธัมมา อะนัตตา
ติยะทา ปัญญายะ ปัสสะติ
อะถะ นิพพินทะติทุกเข
เอสะ มัคโค วิสุทธิยาติ
ธัมโม สัจจะจัง เต ชะ โนติ

ณ บัดนี้จะได้วิปัสสนาพระธรรมเทศนาของพระผู้มีพระภาคเจ้า เพื่อเป็นเครื่องประดับสติปัญญา ส่งเสริมศรัทธาความเชื่อและวิริยะความพากเพียร ของท่านทั้งหลายผู้เป็นพุทธบริษัท ให้เจริญงอกงามก้าวหน้า ตามทางแห่งพระศาสนาของสมเด็จพระบรมพระศาสดา อันเป็นที่พึ่งของสัตว์ทั้งหลาย กว่าจะยุติลงด้วยเวลา เทศนาในเวลาที่ประจำพรรษา เป็นบุพพาแต่ละลำดับ คือเป็นการติดต่อกันไป เพื่อว่าผู้ที่ตั้งใจจะฟังธรรมเทศนา ให้ตลอดพรรษาก็ย่อมจะทำได้ คือควรจะซักซ้อมการอธิษฐานใจ ในการที่จะทำสิ่งใดให้สม่ำเสมอ จนตลอดพรรษานี้ ให้คงไว้เป็นอย่างดี เมื่อวันนี้ก็มีพระมาเที่ยวพรรษา ถามว่ามาทำไมก็บอกว่ามาเที่ยว
อ่านเพิ่มเติม

การเป็นผู้ฉลาดในฐานะ 7ประการ โดย ท่านพุทธทาส

การเป็นผู้ฉลาดในฐานะ 7ประการ โดย ท่านพุทธทาส

หน้าที่ 1 – วิปัสสนาธรรมเทศนา
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ

ณ บัดนี้จะได้วิปัสสนาธรรมเทศนาของพระผู้มีพระภาคเจ้า เพื่อเครื่องดับสติปัญญา ส่งเสริมศรัทธาความเชื่อ และวิริยะ ความพากเพียรของท่านทั้งหลาย และผู้เป็นพุทธบริษัท ให้เจริญงอกงามก้าวหน้าตามทางแห่งพระศาสนา ของสมเด็จพระบรมศาสดา

อันเป็นที่พึ่งของสัตว์ทั้งหลาย กว่าจะยุติลงด้วยเวลา ธรรมเทศนาเป็นเป็นบุพพาละลำดับ สืบต่อธรรมเทศนาที่วิสัจจนาแล้วในครั้งก่อน การจำพรรษานี้ พุทธบริษัทมีความตั้งใจที่จะประพฤติปฎิบัติธรรมะวินัย ในพระศาสนาให้มากเป็นพิเศษ ได้กล่าวมาแล้วว่า ผู้ที่จะประพฤติปฎิบัติ สิ่งใดให้เคร่งครัดจนเรียกได้ว่าเป็น พรหมจรรย์ ของผู้นั้น
อ่านเพิ่มเติม

การอยู่ประพฤติพรหมจรรย์ โดย ท่านพุทธทาส

การอยู่ประพฤติพรหมจรรย์ โดย ท่านพุทธทาส

หน้าที่ 1 – ขนบธรรมเนียมประเพณี
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
อัตตะมา เทนะ สัมปาเทฐา ติธัมโม สัจจะจัง โสปะโก ยันทิ

ณ บัดนี้จะได้วิสัจนาพระธรรมเทศนา ของพระผู้มีพระภาคเจ้า เพื่อเป็นเครื่องประดับสติปัญญาส่งเสริมศรัทธาความเชื่อ แล้ววิริยะความพากเพียร ของท่านทั้งหลายผู้เป็นพุทธบริษัท ให้เจริญงอกงามก้าวหน้าในทางแห่งพระศาสนา ของสมเด็จพระบรมศาสดา

อันเป็นที่พึ่งของสัตว์ทั้งหลาย กว่าจะยุติลงด้วยเวลา ธรรมเทศนาในวันนี้ เป็นธรรมเทศนาพิเศษ ปรารภเหตุเป็นวันเข้าพรรษา ดังนั้นจะได้กล่าวถึง สิ่งที่พุทธบริษัททั้งหลายจะพึ่งกระทำในใจ เนื่องในวันเช่นวันนี้เพื่อให้สำเร็จประโยชน์แห่งตนแห่งตนตามสำควรแก่สติกำลัง วันเข้าพรรษา ซึ่งวันนี้มีขนบธรรมเนียมประเพณีสำหรับที่จะบำเพ็ญกุศล และกระทำสิ่งซึ้งจะต้องกระทำให้ดีเป็นพิเศษ สำหรับแต่ละบุคคล จนกว่าจะตลอดพรรษา ถึงแม้บรรพชิตในวัดวาอารามก็ได้กระทำวัดปฏิบัตินั้นๆ ให้ดีเป็นพิเศษ ตลอดกาลพรรษาเช่นเดียวกัน
อ่านเพิ่มเติม

การปฎิบัติที่ไม่ผิด โดย ท่านพุทธทาส

การปฎิบัติที่ไม่ผิด โดย ท่านพุทธทาส

หน้าที่ 1 – ธรรมะสวรรณะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
หิเมหิธัมเมหิ สัมนาธัมโม อธัมอะปะหิปะธัม ปะหิปันโน โหนติ โยหิกะสานา โหนติ อากะยานัง ยาติธัมโม ถะกะชัง โสกะโหนติ

ณ บัดนี้จะได้วิปัสสนาธรรมเทศนา ของพระผู้มีพระภาคเจ้า ที่เป็นเครื่องประดับสติปัญญา ส่งเสริมศรัทธาความเชื่อ และวิริยะความพากเพียร ของท่านทั้งหลายผู้เป็นพุทธบริษัท ให้เจริญก้าวหน้าในทางแห่งพระพุทธศาสนา ของพระสมเด็จพระบรมศาสดา อันเป็นที่พึ่งของสัตว์ทั้งหลาย กว่าจะยุติลงด้วยเวลา
อ่านเพิ่มเติม

ความคลายกำหนัดเป็นสุข โดย ท่านพุทธทาส

ความคลายกำหนัดเป็นสุข โดย ท่านพุทธทาส

หน้าที่ 1 – ความสุข
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ

ณ บัดนี้จะได้วิสัชนาพระธรรมเทศนาออกพระผู้มีพระภาคเจ้า เพื่อเป็นเครื่องประดับสติปัญญาส่งเสริมศรัทธาความเชื่อและวิริยะความพากเพียรของท่านทั้งหลาย

ผู้เป็นพุทธบริษัทให้เจริญงอกงามก้าวหน้าตามทางแห่งพระศาสนาของสมเด็จพระบรมศาสดาอันเป็นที่พึ่งของสัตว์ทั้งหลาย กว่าจะยุติลงด้วยเวลา ธรรมะเทศนานี้เป็นเทศนาในการเข้าพรรษาซึ่งเป็น อภิรักจิตสมัยนอกเหนือไปจากวันธรรมดา ในเวลาที่สมควรแก่การแสดงธรรมเทศนาแก่พุทธบริษัทผู้ประชุมกันอยู่ ณ ที่นี้ ซึ่งจะได้แสดงด้วยหัวข้อว่า สิขาวิราคะตา โรเก กามานัง สุขจิตโว ธรรมะเทศนานี้แสดงถึงความสุขอีกชนิดหนึ่งวึ่งมีใจความว่า ความคลายกำหนัดออกเสียได้หรือการก้าวออกเสียได้ ซึ่งกามทั้งหลายในโลกนี้เป็นความสุข เป็นการแสดงถึงความสุขอีกชนิดหนึ่ง ต่อจากที่ได้แสดงแล้วในครั้งที่แล้วมา 2 ครั้ง ในครั้งแรกแสดงเรื่อง ความสุขอันเกิดแก่ นิเวศ หรือความที่ วิเวศ ไม่มีอะไรรบกวนของบุคคลที่เห็นธรรมะแล้ว ย่อมเป็นสุข ครั้งที่ 2 ว่าการสำรวม ในสัตว์มีปาณะทั้งหลาย คือการไม่เบียดเบียน ถือว่าเป็นความสุขในโลก
อ่านเพิ่มเติม

ไตรกรรม : กุศลกรรม อกุศลกรรม อัพยากตกรรม โดย ท่านพุทธทาส

ไตรกรรม : กุศลกรรม อกุศลกรรม อัพยากตกรรม โดย ท่านพุทธทาส

หน้าที่ 1 – ศรัทธาความเชื่อ
ไตรกรรม : กุศลกรรม อกุศลกรรม อัพยากตกรรม
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
หินิธัมมานิ อกุกะลัง อะเวตากะธัง อถิธัมโม อะจัง โสถะโกติ

ณ บัดนี้จะได้วิปัสสนาธรรมเทศนาเพื่อเครื่องดับสติปัญญา ส่งเสริมศรัทธาความเชื่อ และวิริยะ ความพากเพียรของท่านทั้งหลาย และผู้เป็นพุทธบริษัท ให้เจริญงอกงามก้าวหน้าตามทางแห่งพระศาสนา ของสมเด็จพระบรมศาสดา นั่นเป็นที่พึ่งของสัตว์ทั้งหลาย กว่าจะยุติลงด้วยเวลา ธรรมเทศนาประจำพรรษาธรรมะสวรรณะพรรษา ได้แสดงมาโดยลำดับ ว่าด้วยสิ่ง 3 สิ่งเป็นลำดับมา นับตั้งแต่พระรัตนตรัย แก้วทั้ง 3 ไตรสิกขา ไตรสิกขา 3 ไตรโลกุตระธรรม ไตรที่เป็นโลกุตระ 3 ไตรลักษณ์ ลักษณะของสังขารทั้งปวง 2 ไตรลักษณ์แห่งการหมุนแบ่งได้เป็น 3 ตอน ไตรภพหรือไตรภูมิ
อ่านเพิ่มเติม

พระธรรมที่เกี่ยวกับพระพุทธเจ้าและมนุษย์ โดย ท่านพุทธทาส ภิกขุ

พระธรรมที่เกี่ยวกับพระพุทธเจ้าและมนุษย์ โดย ท่านพุทธทาส ภิกขุ

หน้าที่ 1 – พระสิทธัตถะ
ให้สำเร็จประโยชน์เกี่ยวกับพระธรรมขอให้ตั้งใจรวมจิตใจทั้งหมดให้เหลืออยู่เพียงเรื่องเดียวคือเรื่องพระธรรมถ้าจะถามว่าพระธรรมคืออะไร ธรรมะคืออะไรท่านลองคิดดูว่าจะตอบอย่างไร

อาตมาอยากจะแยกตอบเป็น 2 อย่างที่เกี่ยวกับพระพุทธเจ้าพระธรรมคืออย่างไรที่เกี่ยวกับมนุษย์พระธรรมคืออะไรเป็นอย่างไรแยกดูกันคนละที เกี่ยวกับพระพุทะเจ้าก่อนว่าพระธรรมคืออะไรพระธรรมคือสิ่งที่พระพุทธเจ้าทรงค้นพบๆตรัสรู้พระธรรมคือสิ่งที่ทำให้พระสิทธัตถะกลายเป็นพระพุทธเจ้าค้นพบธรรม ตรัสรู้ธรรม พระธรรมก็ได้ทำให้บุคคลเป็นพระพุทธเจ้า

ในกรณีนี้ของเราก็คือทำให้พระสิทธัตถะเป็นพระพุทธเจ้าขึ้นมาเกิดอุบัติโดยโอกะปาติกะกำเนิดกลายจากพระสิทธัตถะกลายเป็นพระพุทธเจ้านี่ก็อย่างหนึ่งนี่พระธรรมคือสิ่งที่พระพุทธเจ้าทรงแจกให้คนทั้งโลกท่านดู ถ้าฝ่ายพระพุทธเจ้าพระธรรมพระพุทธเจ้าทรงค้นพบ พระธรรมคือสิ่งที่ทำบุคคลนั้นให้เป็นพระพุทธเจ้าขึ้นมา พระธรรมคือสิ่งที่พระพุทธเจ้าทรงแจกทั่วไปหมดพระธรรมคืออย่างนี้ที่เกี่ยวกับมนุษย์พระธรรมเป็นคู่กับชีวิตมนุษย์ มนุษย์ไม่มีพระธรรมต้องตายที่ว่าพระธรรมนี้มี 4 ความหมายพระธรรม คือธรรมชาติ พระธรรมคือกฎของธรรมชาติ พระธรรมคือหน้าที่ตามกฎของธรรมชาติ พระธรรมคือผลตามหน้าที่มนุษย์เราตั้งอยู่ด้วยธรรม 4 ความหมายจึงรอดชีวิตอยู่ได้มันจึงถือว่าพระธรรมเป็นของคู่ชีวิตทำให้ชีวิตรอดอยู่ได้พูดว่าเป็นตัวชีวิตซะเลยท่านจงพยายามเข้าใจธรรม 4ความหมายให้ดีในตัวคนมันมีธรรมะ 4 ความหมายร่างกาย จิตใจที่ประกอบกันขึ้นเป็นอัตภาพทั้งหมดนี้เป็นธรรมชาติ ดิน น้ำ ลม ไฟอากาศ วิญญาณอะไรก็แล้วแต่เป็นธรรมชาตินี่ในธรรมชาติแต่ละอย่างมันก็มีกฎของธรรมชาติบังคับอยู่ขุมขน ฟันหนังจึงเปลี่ยนแปลงทำหน้าที่ของมัน
อ่านเพิ่มเติม

ไตรทวาร : กายทวาร – วจีทวาร – มโนทวาร โดย ท่านพุทธทาส

ไตรทวาร : กายทวาร – วจีทวาร – มโนทวาร โดย ท่านพุทธทาส

หน้าที่ 1 – วิริยะความพากเพียร
ไตรทวาร : กายทวาร – วจีทวาร – มโนทวาร
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
สัมเพ สังขารา อนิจจา
สัมเพ สังขารา ทุกขา
สัมเพ ธัมมา อะนัตตา
ติยะทา ปัญญายะ ปัสสะติ
อะถะ นิพพินทะติทุกเข
เอสะ มัคโค วิสุทธิยาติ
ธัมโม สัจจะจัง เต ชะ โนติ

ณ บัดนี้จะได้วิสัจนา พระธรรมเทศนา เพื่อเป็นเครื่องประดับสติปัญญาส่งเสริมศรัทธาความเชื่อ และวิริยะความพากเพียร ของท่านทั้งหลายผู้เป็นพุทธบริษัท ให้เจริญงอกงามก้าวหน้า
อ่านเพิ่มเติม

การบำรุงพระศาสนา โดย ท่านพุทธทาส

การบำรุงพระศาสนา โดย ท่านพุทธทาส

หน้าที่ 1 – การบำรุงพระศาสนา
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
ณ บัดนี้จะได้วิสัชนาพระธรรมเทศนาของพระผู้มีพระภาคเจ้าเพื่อเป็นเครื่องประดับสติปัญญาส่งเสริมศรัทธาความเชื่อและวิริยะความพากเพียรของท่านทั้งหลายผู้เป็นพุทธบริษัทให้เจริญงอกงามก้าวหน้าในทางแห่งพุทธศาสนาของสมเด็จพระบรมศาสดา
อ่านเพิ่มเติม

การทำบุญสามแบบ โดย ท่านพุทธทาส

การทำบุญสามแบบ โดย ท่านพุทธทาส

หน้าที่ 1 – พุทธบริษัท
การทำบุญสามแบบ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
สัมเพ สังขารา อนิจจา
สัมเพ สังขารา ทุกขา
สัมเพ ธัมมา อะนัตตา
ติยะทา ปัญญายะ ปัสสะติ
อะถะ นิพพินทะติทุกเข
เอสะ มัคโค วิสุทธิยาติ
ธัมโม สัจจะจัง เต ชะ โนติ
เอตัง ปันยัง เนเทปนาโม ปหิรา ปัญญานิ สุขามหานิ อะถะ โลกาวิฆัง ปาฌเห สันติเบกโข ธัมโม โสคชัง โหนติ.

ณ บัดนี้จะได้วิปัสนาธรรมเทศนา ในบุญยสถาเพื่อเป็นเครื่องประดับสติปัญญา ส่งเสริมศรัทธา ความเชื่อ และวิริยะความพากเพียร ของท่านทั้งหลาย
อ่านเพิ่มเติม

การหาความสุขจากสิ่งที่เป็นทุกข์ โดย ท่านพุทธทาส

การหาความสุขจากสิ่งที่เป็นทุกข์ โดย ท่านพุทธทาส

หน้าที่ 1 – ธรรมเทศนา
อันเป็นที่พึ่งของสัตว์ทั้งหลาย กว่าจะยุติลงด้วยเวลา ธรรมเทศนา เนื่องในวันเข้าพรรษานี้นั้น เป็นธรรมเทศนาที่มุ่งหมายจะให้ไม่เกิดความไม่ประมาท แก่ท่านทั้งหลายผู้เป็นพุทธบริษัท หลังจากที่ได้ทำความเข้าใจในเรื่องนี้มาตามลำดับแล้วแต่วันก่อนๆ ในวันนี้ก็ยังเป็นธรรมเทศนาที่มีความมุ่งหมายอย่างเดียวกัน คือว่าตลอดการจำพรรษานี้ เป็นเวลาที่พุทธบริษัท ตั้งใจที่จะทำสิ่งใดสิ่งหนึ่งซึ่งเป็นวัดปฏิบัติของตน ให้ดีเป็นพิเศษ ให้สม่ำเสมอเป็นพิเศษ สมกับที่เป็นวันเข้าพรรษา
อ่านเพิ่มเติม

ความรักผู้อื่น โดย ท่าน พุทธทาส

ความรักผู้อื่น โดย ท่าน พุทธทาส

หน้าที่ 1 – ความรักผู้อื่น
หมายความว่าอาตมาจะต้องพูดว่าท่านทั้งหลายพากันมองข้ามสิ่งที่เรียกว่า ความรักผู้อื่น ระหว่างนี้เราก็พูดกันแต่ว่าความรักผู้อื่น เพราะว่าเป็นหัวใจของศาสนาทุก ๆ ศาสนา จึงอยากจะให้นำเอามาศึกษาพินิจพิจารณาใคร่ครวญโดยละเอียดและบรรยายไว้ในทุกชุดของการบรรยาย การบรรยายชุดนี้คือชุดที่เรียกว่าสิ่งสำคัญที่พากันมองข้าม ก็จะรวมเอาเรื่องความรักผู้อื่นเอาไว้ในชุดนี้ด้วย ขอให้ทำความเข้าใจกันให้ถึงที่สุดเสียสักที เรามองข้ามสิ่งสำคัญกันมาหลายเรื่องแล้ว นับตั้งแต่มองข้ามเรื่องโลกมนุษย์กำลังจะหมดความเป็นโลกมนุษย์ โลกพระศรีอาสน์อยู่แค่ปลายจมูกนี้เราก็มองข้าม การทำภาวนาเป็นสิ่งที่มีคุณค่าสูงสุด เราก็มองข้าม ชีวิตพื้นฐานคือจิตประภัสสรคือไม่มีความทุกข์เลยนี้ก็เรามองข้าม
อ่านเพิ่มเติม

แม่ คือ ผู้สร้างโลก โดย ท่าน พุทธทาส ภิกขุ

แม่ คือ ผู้สร้างโลก โดย ท่าน พุทธทาส ภิกขุ

หน้าที่ 1 – ธรรมชาติธรรมชาติแท้ ๆ
ดังนั้นใครหัวหงอกแล้วก็ต้องรู้สึกว่าเราก็มีแม่ ที่จะต้องประพฤติปฏิบัติให้ถูกต้องต่อผู้ที่เรียกกันว่าแม่และถ้ายังไม่ได้ปฏิบัติ มันก็เป็นคนบกพร่อง นั่นก็คือใช้ไม่ได้ยังจะต้องปฏิบัติเพื่อหน้าที่ของตัวเอง และยังต้องปฏิบัติเพื่อเป็นตัวอย่างให้เด็กๆ แม้เป็นเด็กไม่นุ่มผ้า คนแก่ๆก็ปฏิบัติให้ดูมันยังไม่พ้นหน้าที่ที่ต้องจะปฏิบัติต่อแม่ และไม่พ้นหน้าที่ที่จะต้องปฏิบัติ อย่างกับเป็นแม่เอง มันทั้งขึ้นทั้งร่องเราจะต้องปฏิบัติต่อมารดาของเรา แม้แก่เฒ่าชราแล้ว เพียงแต่เราต้องปฏิบัติต่อแม่ เดี๋ยวนี้เรามีอายุเป็นมารดา ดังนั้นการพูดกันถึงเรื่องแม่ตามโอกาสนี่นับว่าจึงเรียกว่ามีเหตุผล ดังนั้นอาตมาจึงขอถือโอกาสนี้พูดเรื่องแม่ แทนที่จะพูดเรื่องหลักธรรมะโดยทั่วไป แต่ถึงอย่างนั้นก็เถอะ ยังจะพูดเรื่องแม่ชั้นปรมัตอยู่นั้นเองเราจะพูดถึงผู้ที่เรียกว่าแม่ในความหมายที่ลึกขั้นที่เป็นปรมัต ขอให้ฟังให้ดีให้สำเร็จประโยชน์ทั้งผู้ที่มีแม่และผู้ที่กำลังเป็นแม่ และผู้ที่เป็นแม่แก่เด็กๆ เมื่อพูดโดยปรมัติ คำว่าแม่นั้นก็มีความหมายหลายอย่าง ซึ่งเขาไม่มองกัน อย่างน้อยที่สุดเราก็จะมองกันในแง่ที่ว่า แม่นั่นแหละคือผู้ที่สร้างโลก เขาจะพูดว่าพระเจ้าเป็นผู้สร้างโลกก็ตามใจเขา เดี๋ยวนี้เรามองว่า ผู้ที่เป็นแม่นั่นแหละเป็นผู้ที่สร้างโลก นั่นคือแม่สร้างลูก สร้างเด็กขึ้นมาในลักษณะอย่างไร คนเหล่านี้ก็ประกอบกันขึ้นเป็นโลก นั้นแหละมันดีมันชั่วอย่างไร
อ่านเพิ่มเติม

อินเดีย-ไทย ใกล้ชิดกันกว่าที่คุณคิด (ตอนที่ 2)

อินเดีย-ไทย ใกล้ชิดกันกว่าที่คุณคิด (ตอนที่ 2)

ตามที่ได้เกริ่นไว้ในตอนที่แล้วว่า ไทยได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมจากอินเดียมาไม่น้อย ไม่ทางตรงก็ทางอ้อม และถูกนำมาผสมกลมกลืนกับวิถีชีวิต ประเพณี ความเชื่อ โดยที่คนไทยอาจนึกไม่ถึง

ตอนที่แล้ว ยกตัวอย่างเรื่องภาษาซึ่งเป็นเรื่องที่เห็นชัดที่สุด แม้แต่คำว่า “ภาษา” (อินเดียออกเสียงว่า บาห์ซ่า) ก็เป็นคำสันสกฤต ที่คนอินเดียยังใช้อยู่ทุกวันนี้

พุทธศาสนาเป็นมรดกล้ำค่าอีกเรื่องที่ไทยรับมาจากอินเดียเต็มๆ แผ่นดินถิ่นพุทธภูมิ ต้นกำเนิดของพุทธศาสนา ศาสนาประจำชาติของไทย ก็คืออินเดีย พระเจ้าอโศกมหาราช กษัตริย์ผู้ยิ่งใหญ่ในราชวงศ์โมริยะ ทรงเป็นอัครศาสนูปถัมภกที่ทำนุบำรุงพุทธศาสนาให้รุ่งเรืองสูงสุดในอินเดีย และต่อมาได้ส่งสมณทูตไปเผยแผ่พระพุทธศาสนาในดินแดนสุวรรณภูมิ

ท่านพุทธทาส ภิกขุ เคยเทศน์เรื่อง พระคุณที่อินเดียมีต่อไทย ในวันอาสาฬหบูชา เมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม 2533 กล่าวถึงอานิสงส์ที่ไทยได้รับพุทธศาสนามาจากอินเดีย ซึ่งเป็นพื้นฐานของวัฒนธรรมและประเพณีอีกมากมายของไทย ท่านกล่าวตอนหนึ่งว่า วัฒนธรรมต่างๆ นี้ ได้กลายเป็นชีวิตเป็นเลือดเนื้อของชาวไทยไปเสียแล้ว…เรามีเลือดมีเนื้อเป็นอินเดีย มีศาสนาฮินดูเป็นแม่ มีศาสนาพุทธเป็นพ่อ อยู่โดยไม่รู้สึกตัว
อ่านเพิ่มเติม

พระธรรมโกศาจารย์ (ท่านพุทธทาสภิกขุ)

พระธรรมโกศาจารย์ (ท่านพุทธทาสภิกขุ)
วัดสวนโมกขพลาราม อ.ไชยา จ.สุราษฏร์ธานี
(๒๔๔๙ -๒๕๓๖)

พระพุทธศาสนา เป็นศาสนาแห่งบรมธรรม สำเร็จได้ด้วยใบไม้กำมือเดียว ไม่ต้องเรียนจนจบพระไตรปิฎก หรือไม่ต้องเรียน กันมากมาย ชั่วใบไม้กำมือเดียวว่า ทุกข์เกิดขึ้นอย่างไร ดับทุกข์อย่างไร นี่ก็…กำมือเดียว

พระพุทธองค์ท่านมีการตรัสทั้งภาษาคนและภาษาธรรม ต้องฟังให้ดี เช่น ตรัสโดยภาษาคนว่า “ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน” แต่ตรัสโดย ภาษาธรรมว่า “ตัวตนของตนนั้นไม่มี” ดังนี้ ถ้าฟังไม่ดีจะไม่รู้เรื่องและเห็นว่าเป็นคำพูดที่ขัดกัน ถ้ารู้จักฟังโดยหลักภาษาคนภาษาธรรมแล้วจะไม่ขัดกันเลย

พระพุทธองค์ตรัสว่า “แต่ก่อนก็ดี บัดนี้ก็ดี เราบัญญัติแต่เรื่องทุกข์กับความดับไม่เหลือแห่งทุกข์เท่านั้น”
ดังนั้น พวกเราอย่าต้องเสียเวลาในการศึกษาการถามการเถียงกันด้วยเรื่องอื่นที่มิใช่สองเรื่องนี้กันอีกเลย

คนมีใจเดินต่ำ มนุษย์มีใจเดินขึ้นสูง แล้วจะไม่ต่างกันยิ่งกว่าฟ้าและดินซึ่งหยุดอยู่เฉยๆ ได้อย่างไร
อ่านเพิ่มเติม

ท่านพุทธทาส

ท่านพุทธทาส

อานาปานสติ
จากหนังสือ “อานาปานสติ สมบูรณ์แบบ” ของ พุทธทาสภิกขุ
พิมพ์ครั้งที่ ๗ พ.ศ.๒๕๓๕ ธรรมสภาจัดพิมพ์เผยแพร่
PONG1930 ได้บันทึกไว้เมื่อ ๒๕ มกราคม ๒๕๓๘
สติปัฏฐาน ๔ (ขั้นตอนฝึกสติ อย่างละเอียด)
(กาย-เวทนา-จิต-ธรรม)
อานาปานสติ ๔ หมวด ๑๖ ลำดับขั้นตอน

หมวดที่ ๑ กายานุปัสสนา
ขั้นที่ ๑ หายใจยาว
ขั้นที่ ๒ หายใจสั้น
ขั้นที่ ๓ รู้พร้อม/เห็นความสัมพันธ์ของกายทั้งปวง (กายเนื้อ/กายลม)
ขั้นที่ ๔ ทำกายสังขารให้สงบระงับ มีเคล็ด (เทคนิค) ๔ ขั้นตอน :-
– วิ่งตาม
– เฝ้าดู
– สร้างมโนภาพ
– บังคับมโนภาพ
* ต้องมี “วสี” คือ ฝึกให้เกิดความชำนาญ
อ่านเพิ่มเติม

. . . . . . .